แก้ไขล่าสุดเมื่อ: 4 กันยายน 2550
Create New Virtual Machine
เมื่อทำการติดตั้ง MSVPC 2007 เสร็จแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ ทำการสร้าง Virtual Machine สำหรับใช้ในการติดตั้ง Guest OS ขึ้นมา โดยวิธีการสร้าง Virtual Machine นั้น มีขั้นตอนดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Microsoft Virtual PC 2007 แล้วคลิกที่ New Virtual Machine จะได้ไดอะล็อกซ์บ็อกซ์วิซาร์ด ดังรูปที่ 1. ให้คลิก Next เพื่อเริ่มต้นทำการสร้าง New Virtual Machine
รูปที่ 1. New Virtual Machine Wizard
2. ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์เวอร์ชวลแมชีนออปชัน ดังรูปที่ 2. ให้ทำการเลือก Cretae a New Virtual Machine เพื่อทำการสร้างเวอร์ชวลแมชีนขึ้นมาใหม่และเลือกการกำหนดค่าต่างๆ ด้วยตนเอง แล้วคลิก Next
รูปที่ 2. New Virtual Machine Wizard Options
3.ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์เวอร์ชวลแมชีนเนม ดังรูปที่ 3. ให้กำหนดชื่อให้กับเวอร์ชวลแมชีนที่จะสร้างหากต้องการเก็บไฟล์เวอร์ชวลแมชีนไว้ในตำแหน่งดีฟอลท์ (My Virtual Machine ใน My Documents) ก็ให้คลิก Next แต่หากต้องการเปลี่ยนตำแหน่งที่จะเก็บไฟล์ ก็ให้คลิกที่ Browse จะได้ไดอะล็อกซ์บ็อกซ์ดังรูปที่ 4. ให้เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการเสร็จแล้วคลิก Save เพื่อบันทึกไฟล์ แล้วคลิก Next เพื่อไปยังขั้นตอนต่อไป
รูปที่ 3. Virtual Machine Name
รูปที่ 4. Virtual Machine Location
4. ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์โอเปอร์เรตติงซีสเต็ม ดังรูปที่ 5. ทำการเลือกระบบปฏิบัติการของเวอร์ชวลแมชีนเนม โดยการคลิกที่ดร็อปดาวน์ลิสต์แล้วเลือกระบบปฏิบัติการที่ต้องการดังรูปที่ 6. เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 5. Virtual Machine Operating System
รูปที่ 6. New Virtual Machine Operating System
5.ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์เมมมอรี ดังรูปที่ 7. ให้เลือก Using the recommended RAM แต่ถ้าหากต้องการกำหนดค่าเองให้เลือก Adjusting the RAM แล้วใส่ค่าที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 7. Memory Settings
6.ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์เวอร์ชวลฮาร์ดดิสก์ออปชัน ดังรูปที่ 8. ให้เลือก A New virtual hard disk แต่หากต้องการใช้งาน virtual hard disk ที่มีอยู่แล้วก็ให้เลือกเป็น An existing virtual hard disk
รูปที่ 8. Virtual Hard Disk Options
7.ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์เวอร์ชวลฮาร์ดดิสก์โลเคชัน ดังรูปที่ 9. หากต้องการใช้ค่าดีฟอลท์ให้คลิก Next เพื่อไปยังขั้นตอนต่อไป แต่ถ้าหากต้องการเปลี่ยนชื่อเวอร์ชวลฮาร์ดดิสก์หรือตำแหน่งที่จะใช้เก็บไฟล์ ก็ให้คลิกที่ Browse แล้วใส่ชื่อของเวอร์ชวลฮาร์ดดิสก์และเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการเสร็จแล้วคลิก Save เพื่อบันทึกไฟล์ จากนั้นทำการกำหนดขนาดของเวอร์ชวลฮาร์ดดิสก์ในช่อง Virtual hard disk size แล้วคลิก Next เพื่อไปยังขั้นตอนต่อไป
รูปที่ 9. Virtual Hard Disk Location
8.ในไดอะล็อกซ์บ็อกซ์ถัดไป ดังรูปที่ 10. ให้คลิก Finish เพื่อจบการสร้าง New virtual machine
รูปที่ 10. Finish New Virtual Machine Wizard
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
Microsoft Virtual PC 2007
Virtual Machine Additions
ไลเซนส์การใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007
Microsoft Virtual PC 2007 1/4 Installation
Microsoft Virtual PC 2007 2/4 Create New Virtual Machine
Microsoft Virtual PC 2007 3/4 Virtual machine settings
Microsoft Virtual PC 2007 4/4 Windows XP as Guest OS
MSVPC2007 Microsoft Virtual PC 2007 VirtualPC2007 VirtualPC 2007 VPC2007 VPC 2007 Virtualization
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Pages - Menu
▼
Pages - Menu
▼
Pages
▼
Friday, April 20, 2007
Microsoft Virtual PC 2007 Installation - Part 1/4
แก้ไขล่าสุดเมื่อ: 4 กันยายน 2550
Microsoft Virtual PC 2007
Microsoft Virtual PC นั้น เป็นโปรแกรมจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบคอมพิวเตอร์จริง โดยเวอร์ชัน 2007 นี้ เป็นการพัฒนาต่อจากเวอร์ชัน 2004 ที่ออกมาก่อนหน้านี้ โดยการเพิ่มฟีเจอร์ต่างๆ และปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และที่สำคัญทางไมโครซอฟต์ได้ให้ใช้งานตัวโปรแกรม Virtual PC 2007 โดยไม่มีค่าใช้จ่าย แต่อย่างไรก็ตาม ในส่วนของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ที่จะติดตั้งใช้งานบน Virtual Machine ที่สร้างขึ้นมานั้น ผู้ใช้ก็ยังจำเป็นต้องมีไลเซนส์ที่ถูกต้องอยู่ดี สำหรับรายละเอียดเรื่องไลเซนส์ในการใช้งานนั้น สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ในหัวข้อ "ไลเซนส์การใช้งาน Microsoft Virtual PC"
ฟีเจอร์ใหม่ใน Microsoft Virtual PC 2007
1.รองรับการติดตั้ง Windows Vista เป็น โฮสต์
2.รองรับการติดตั้ง Windows Vista เป็น เกสต์
3.รองรับการติดตั้ง Windows Vista 64-bit เป็น โฮสต์
4.มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ Virtual PC 2004
Host Computer System Requirements
สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ติดตั้งเป็นโฮสต์ Microsoft Virtual PC 2007 นั้น มีความต้องการระบบในด้านต่างๆ ดังนี้
1. Hardware
1.1 CPU แบบ x86-based หรือ x64-based ความเร็ว 400 MHz หรือ เร็วกว่า (1 GHz recommended) และมีหน่วยความจำระดับ 2 (L2 cache)สามารถใช้กับซีพียู AMD Athlon/Duron หรือ Intel Celeron, Pentium II/III/4/Core Duo/Cor 2 Duo และ MSVPC 2007 นั้น สามารถรันบนระบบแบบ Multi-CPU ได้ แต่จะสามารถรองรับ CPU ได้เพียงตัวเดียว
1.2 Memory สำหรับ memory นั้น ความต้องการจะขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งเป็น Guest OS โดยอ่านรายละเอียดได้จากหัวข้อ "Guest Operating System" ด้านล่าง
1.3 CD-ROM หรือ DVD drive
1.4 Super VGA (800 x 600) หรือ สูงกว่า (แนะนำ)
1.5 Keyboard และ mouse หรือ อุปกรณ์ pointing
2. Host Operating System
2.1 Windows Vista Business/Enterprise/Ultimate
2.2 Windows XP Professional/Tablet PC Edition
3. Guest Operating System
ระบบปฏิบัติการแต่ละตัวที่ติดตั้งเป็น Guest OS นั้น จะมีความต้องการใช้ Memory และ Disk space ของ Host OS ดังต่อไปนี้
Operating System (Minimum RAM/Minimum disk space)
3.1 Windows 98, Windows 98 Second Edition(Minimum RAM 64 MB/500 MB)
3.2 Windows Millennium Edition (Minimum RAM 96 MB/Minimum disk space 2 GB)
3.3 Windows 2000 Professional (Minimum RAM 96 MB/Minimum disk space 2 GB)
3.4 Windows XP Home Edition (Minimum RAM 128 MB/Minimum disk space 2 GB)
3.5 Windows XP Professional (Minimum RAM 128 MB/Minimum disk space 2 GB )
3.6 Windows Vista Enterprise (Minimum RAM 512 MB/Minimum disk space 15 GB)
3.7 Windows Vista Business (Minimum RAM 512 MB/Minimum disk space 15 GB)
3.8 Windows Vista Ultimate (Minimum RAM 512 MB/Minimum disk space 15 GB)
เริ่มต้นใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007
ในการใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007 นั้น สามารถแบ่งออกเป็นขั้นตอน 4 ขั้นตอนด้วยกัน โดยบทความนี้จะเป็นขั้นตอน Installation Microsoft Virtual PC 2007 ซึ่งเป็นตอนแรกจากทั้งหมด 4 ตอน
ขั้นตอนที่ 1. Installation Microsoft Virtual PC 2007
ขั้นตอนแรกนั้นคือ ทำการติดตั้ง Microsoft Virtual PC 2007 บนเครื่องโฮสต์คอมพิวเตอร์ สำหรับท่านที่ยังไม่ได้ทำการดาวน์โหลดตัวติดตั้งของ Microsoft Virtual PC 2007 ก็สามารถทำการดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ ศูนย์ดาวน์โหลดของไมโครซอฟต์ Download Microsoft Virtual PC 2007 โดยเลือกดาวน์โหลดเวอร์ชันให้ตรงกับระบบปฏิบัติการโฮสต์ที่ใช้ เมื่อทำการดาวน์โหลดเสร็จแล้ว จากนั้นให้ทำการติดตั้งตามขั้นตอน ดังนี้
1.ในโฟลเดอร์ที่เก็บโปรแกรมดังรูปที่ 1. ทำการดับเบิลคลิกที่ไฟล์ setup.exe
รูปที่ 1. โปรแกรมติดตั้ง MSVPC2007
2.ในไดอะล็อก "Wellcome to the installation wizard for Microsoft Virtual PC 2007 ให้คลิก Next เพื่อเริ่มทำการติดตั้ง
รูปที่ 2. MSVPC 2007 Installation wizard
3.ในไดอะล็อก License Agreement ให้คลิก I accept the terms in the license agreement เพื่อยอมรับเงื่อนไขการใช้งาน เสร็จแล้วคลิก Next เพื่มทำการติดตั้งโปรแกรม Microsoft Virtual PC 2007
รูปที่ 3. MSVPC 2007 License Agreement
4.ในไดอะล็อก Customer Information ให้ใส่ชื่อผู้ใช้ (Username) และชื่อหน่วยงาน (Organization) แล้วเลือก Install this application for: All users หรือ Only for me
รูปที่ 4. Customer Information
5.ในไดอะล็อก Ready to Install The Program ให้คลิก Install หากต้องการเปลี่ยนโฟลเดอร์สำหรับติดตั้งให้คลิก Change แล้วเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการ
รูปที่ 5. Ready to Install The Program
6.ระบบจะทำการติดตั้งโปรแกรม Microsoft Virtual PC 2007 ดังรูปที่ 6. ให้รอจนการติดตั้งแล้วเสร็จจะได้ไดอะล็อกดังรูปที่ 7. ให้คลิก Finish เพื่อจบการติดตั้ง Microsoft Virtual PC 2007
รูปที่ 6. Installing MSVPC 2007
รูปที่ 6. Installtion Completed
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
Microsoft Virtual PC 2007
Virtual Machine Additions
ไลเซนส์การใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007
Microsoft Virtual PC 2007 1/4 Installation
Microsoft Virtual PC 2007 2/4 Create New Virtual Machine
Microsoft Virtual PC 2007 3/4 Virtual machine settings
Microsoft Virtual PC 2007 4/4 Windows XP as Guest OS
MSVPC2007 Microsoft Virtual PC 2007 VirtualPC2007 VirtualPC 2007 VPC2007 VPC 2007 Virtualization
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Microsoft Virtual PC 2007
Microsoft Virtual PC นั้น เป็นโปรแกรมจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบคอมพิวเตอร์จริง โดยเวอร์ชัน 2007 นี้ เป็นการพัฒนาต่อจากเวอร์ชัน 2004 ที่ออกมาก่อนหน้านี้ โดยการเพิ่มฟีเจอร์ต่างๆ และปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และที่สำคัญทางไมโครซอฟต์ได้ให้ใช้งานตัวโปรแกรม Virtual PC 2007 โดยไม่มีค่าใช้จ่าย แต่อย่างไรก็ตาม ในส่วนของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ที่จะติดตั้งใช้งานบน Virtual Machine ที่สร้างขึ้นมานั้น ผู้ใช้ก็ยังจำเป็นต้องมีไลเซนส์ที่ถูกต้องอยู่ดี สำหรับรายละเอียดเรื่องไลเซนส์ในการใช้งานนั้น สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ในหัวข้อ "ไลเซนส์การใช้งาน Microsoft Virtual PC"
ฟีเจอร์ใหม่ใน Microsoft Virtual PC 2007
1.รองรับการติดตั้ง Windows Vista เป็น โฮสต์
2.รองรับการติดตั้ง Windows Vista เป็น เกสต์
3.รองรับการติดตั้ง Windows Vista 64-bit เป็น โฮสต์
4.มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ Virtual PC 2004
Host Computer System Requirements
สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ติดตั้งเป็นโฮสต์ Microsoft Virtual PC 2007 นั้น มีความต้องการระบบในด้านต่างๆ ดังนี้
1. Hardware
1.1 CPU แบบ x86-based หรือ x64-based ความเร็ว 400 MHz หรือ เร็วกว่า (1 GHz recommended) และมีหน่วยความจำระดับ 2 (L2 cache)สามารถใช้กับซีพียู AMD Athlon/Duron หรือ Intel Celeron, Pentium II/III/4/Core Duo/Cor 2 Duo และ MSVPC 2007 นั้น สามารถรันบนระบบแบบ Multi-CPU ได้ แต่จะสามารถรองรับ CPU ได้เพียงตัวเดียว
1.2 Memory สำหรับ memory นั้น ความต้องการจะขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งเป็น Guest OS โดยอ่านรายละเอียดได้จากหัวข้อ "Guest Operating System" ด้านล่าง
1.3 CD-ROM หรือ DVD drive
1.4 Super VGA (800 x 600) หรือ สูงกว่า (แนะนำ)
1.5 Keyboard และ mouse หรือ อุปกรณ์ pointing
2. Host Operating System
2.1 Windows Vista Business/Enterprise/Ultimate
2.2 Windows XP Professional/Tablet PC Edition
3. Guest Operating System
ระบบปฏิบัติการแต่ละตัวที่ติดตั้งเป็น Guest OS นั้น จะมีความต้องการใช้ Memory และ Disk space ของ Host OS ดังต่อไปนี้
Operating System (Minimum RAM/Minimum disk space)
3.1 Windows 98, Windows 98 Second Edition(Minimum RAM 64 MB/500 MB)
3.2 Windows Millennium Edition (Minimum RAM 96 MB/Minimum disk space 2 GB)
3.3 Windows 2000 Professional (Minimum RAM 96 MB/Minimum disk space 2 GB)
3.4 Windows XP Home Edition (Minimum RAM 128 MB/Minimum disk space 2 GB)
3.5 Windows XP Professional (Minimum RAM 128 MB/Minimum disk space 2 GB )
3.6 Windows Vista Enterprise (Minimum RAM 512 MB/Minimum disk space 15 GB)
3.7 Windows Vista Business (Minimum RAM 512 MB/Minimum disk space 15 GB)
3.8 Windows Vista Ultimate (Minimum RAM 512 MB/Minimum disk space 15 GB)
เริ่มต้นใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007
ในการใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007 นั้น สามารถแบ่งออกเป็นขั้นตอน 4 ขั้นตอนด้วยกัน โดยบทความนี้จะเป็นขั้นตอน Installation Microsoft Virtual PC 2007 ซึ่งเป็นตอนแรกจากทั้งหมด 4 ตอน
ขั้นตอนที่ 1. Installation Microsoft Virtual PC 2007
ขั้นตอนแรกนั้นคือ ทำการติดตั้ง Microsoft Virtual PC 2007 บนเครื่องโฮสต์คอมพิวเตอร์ สำหรับท่านที่ยังไม่ได้ทำการดาวน์โหลดตัวติดตั้งของ Microsoft Virtual PC 2007 ก็สามารถทำการดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ ศูนย์ดาวน์โหลดของไมโครซอฟต์ Download Microsoft Virtual PC 2007 โดยเลือกดาวน์โหลดเวอร์ชันให้ตรงกับระบบปฏิบัติการโฮสต์ที่ใช้ เมื่อทำการดาวน์โหลดเสร็จแล้ว จากนั้นให้ทำการติดตั้งตามขั้นตอน ดังนี้
1.ในโฟลเดอร์ที่เก็บโปรแกรมดังรูปที่ 1. ทำการดับเบิลคลิกที่ไฟล์ setup.exe
รูปที่ 1. โปรแกรมติดตั้ง MSVPC2007
2.ในไดอะล็อก "Wellcome to the installation wizard for Microsoft Virtual PC 2007 ให้คลิก Next เพื่อเริ่มทำการติดตั้ง
รูปที่ 2. MSVPC 2007 Installation wizard
3.ในไดอะล็อก License Agreement ให้คลิก I accept the terms in the license agreement เพื่อยอมรับเงื่อนไขการใช้งาน เสร็จแล้วคลิก Next เพื่มทำการติดตั้งโปรแกรม Microsoft Virtual PC 2007
รูปที่ 3. MSVPC 2007 License Agreement
4.ในไดอะล็อก Customer Information ให้ใส่ชื่อผู้ใช้ (Username) และชื่อหน่วยงาน (Organization) แล้วเลือก Install this application for: All users หรือ Only for me
รูปที่ 4. Customer Information
5.ในไดอะล็อก Ready to Install The Program ให้คลิก Install หากต้องการเปลี่ยนโฟลเดอร์สำหรับติดตั้งให้คลิก Change แล้วเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการ
รูปที่ 5. Ready to Install The Program
6.ระบบจะทำการติดตั้งโปรแกรม Microsoft Virtual PC 2007 ดังรูปที่ 6. ให้รอจนการติดตั้งแล้วเสร็จจะได้ไดอะล็อกดังรูปที่ 7. ให้คลิก Finish เพื่อจบการติดตั้ง Microsoft Virtual PC 2007
รูปที่ 6. Installing MSVPC 2007
รูปที่ 6. Installtion Completed
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
Microsoft Virtual PC 2007
Virtual Machine Additions
ไลเซนส์การใช้งาน Microsoft Virtual PC 2007
Microsoft Virtual PC 2007 1/4 Installation
Microsoft Virtual PC 2007 2/4 Create New Virtual Machine
Microsoft Virtual PC 2007 3/4 Virtual machine settings
Microsoft Virtual PC 2007 4/4 Windows XP as Guest OS
MSVPC2007 Microsoft Virtual PC 2007 VirtualPC2007 VirtualPC 2007 VPC2007 VPC 2007 Virtualization
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Friday, April 6, 2007
Microsoft Management Console 3.0
แก้ไขล่าสุดเมื่อ: 7 มีนาคม 2552
Microsoft Management Console 3.0 สำหรับ Windows XP
Microsoft Management Console หรือ MMC นั้นเป็นเฟรมเวิร์กสำหรับใช้งานรัน Snap-In ซึ่งเป็นชุดคำสั่งที่ไมโครซอฟท์ได้จัดเตรียมไว้ในระบบวินโดวส์ ตัวอย่างของ Snap-In ทีใช้งานบ่อยๆ คือ Computer Management เป็นต้น โดยในปัจจุบัน MMC นั้นได้พัฒนามาถึงเวอร์ชัน 3.0 แล้ว โดยมีการเพิ่ม Action Pan เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานของผู้ดูแลระบบ โดย MMC 3.0 นั้นจะมีทั้งที่เป็นเวอร์ชันสำหรับระบบ 32 บิต และระบบ 64 บิต
Installation MMC 3.0
วิธีการติดตั้ง MMC 3.0 นั้นง่ายๆ และตรงไปตรงมา โดยขั้นตอนแรกนั้นหากยังไม่มีโปรแกรม ก็ให้ทำการดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ศูนย์ดาวน์โหลดของไมโครซอฟต์ ที่เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/downloads หลังจากดาวน์โหลดแล้วเสร็จให้ทำตามขั้นตอนดังนี้
1.ในที่โฟลเดอร์ที่เก็บโปรแกรมดังรูปที่ 1. ทำการดับเบิลคลิกที่ไฟล์ WindowsXP-KB907265-x86-ENU.exe
รูปที่ 1. MMC Setup file
2. วินโดวส์จะแจ้งเตือนเรื่องความปลอดภัยให้คลิก Run เพื่อยืนยันการติดตั้ง
รูปที่ 2. Open file security warning
3.ในไดอะล็อกบ็อกซ์วิซาร์ด Update for Windows XP (KB907265) ให้คลิก Next เพื่อเริ่มทำการติดตั้ง
รูปที่ 3. Software update installation wizard
4.ในไดอะล็อกบ็อกซ์วิซาร์ด License Agreement ให้คลิก I Agree เพื่อยอมรับเงื่อนไขการใช้งาน เสร็จแล้วคลิก Next เพื่มทำการติดตั้งโปรแกรม MMC 3.0
รูปที่ 4. License Agreement
5.ระบบจะทำการติดตั้ง ให้รอจนการติดตั้งแล้วเสร็จ
รูปที่ 5. Updating Your system
6.ในไดอะล็อกบ็อกซ์วิซาร์ด Completing the update ให้คลิก Finish เพื่อจบการติดตั้ง MMC 3.0
รูปที่ 6. Completing the update
เริ่มต้นใช้งาน MMC 3.0
1. เรียกใช้งาน MMC 3.0
ก่อนที่จะสามารถใช้งาน Action pan ใน MMC 3.0 นั้น จะต้องทำการเพิ่มรีจีสทรี HKLM\Software\Microsoft\MMC\UseNewUI ก่อน แล้วจึงทำการเปิด MMC โดยการคลิก Start คลิก Run พิมพ์ MMC ในช่อง Open แล้วกด Enter จะได้หน้าต่าง MMC 3.0 ดังรูปที่ 7. หากคลิกเมนู Help แล้วคลิก About Microsoft Management Console จะเห็นว่าเป็น Microsoft Management Console 3.0 ดังรูปที่ 8.
รูปที่ 7. MMC 3.0
รูปที่ 8. MMC3.0 About
2. การปรับแต่งหน้าต่าง MMC 3.0
เมื่อทำการเปิด MMC 3.0 ครั้งแรก จะยังทำการแสดงหน้าต่างเริ่มต้นเหมือนกันกับ MMC 2.0 ดังนั้นเราต้องทำการปรับแต่งก่อน โดยการคลิกทีเมนู View แล้วคลิก Customize ดังรูปที่ 9. ในไดอะล็อก Customize View ให้เลือกค่าที่ต้องการให้แสดงดังรูปที่ 10. จากนั้นคลิก OK จะได้หน้าต่าง MMC ตามที่เรากำหนด ดังรูปที่ 11.
รูปที่ 9. MMC 3.0 Customize
รูปที่ 10. Customize View
รูปที่ 11. MMC3.0 with Actions pan
3. การใช้งาน Actions pan
ในกรณีการจัดการผู้ใช้ให้คลิกที่โฟลเดอร์ Users ดังรูปที่ 12. จากนั้นคลิกเลือก User ที่ต้องการ แล้วคลิกเลือกการกระทำที่ต้องการจาก Actions pan เช่น เลือกแก้ไข Properties ของ user ต้น ดังรูปที่ 13. ซึ่งระบบจะทำการเปิดไดอะล็อกบ็อกซ์ของคำสั่งที่เลือกขึ้นมาอีกหนึ่งหน้าเพื่อให้เลือกใช้งาน
รูปที่ 12. Local user management
รูปที่ 13. Local user management actions
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
• การเรียกใช้งานคำสั่งในคอนโทรลพาเนลจากชื่อไฟล์
Microsoft Management Console MMC 3.0
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Microsoft Management Console 3.0 สำหรับ Windows XP
Microsoft Management Console หรือ MMC นั้นเป็นเฟรมเวิร์กสำหรับใช้งานรัน Snap-In ซึ่งเป็นชุดคำสั่งที่ไมโครซอฟท์ได้จัดเตรียมไว้ในระบบวินโดวส์ ตัวอย่างของ Snap-In ทีใช้งานบ่อยๆ คือ Computer Management เป็นต้น โดยในปัจจุบัน MMC นั้นได้พัฒนามาถึงเวอร์ชัน 3.0 แล้ว โดยมีการเพิ่ม Action Pan เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานของผู้ดูแลระบบ โดย MMC 3.0 นั้นจะมีทั้งที่เป็นเวอร์ชันสำหรับระบบ 32 บิต และระบบ 64 บิต
Installation MMC 3.0
วิธีการติดตั้ง MMC 3.0 นั้นง่ายๆ และตรงไปตรงมา โดยขั้นตอนแรกนั้นหากยังไม่มีโปรแกรม ก็ให้ทำการดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ศูนย์ดาวน์โหลดของไมโครซอฟต์ ที่เว็บไซต์ http://www.microsoft.com/downloads หลังจากดาวน์โหลดแล้วเสร็จให้ทำตามขั้นตอนดังนี้
1.ในที่โฟลเดอร์ที่เก็บโปรแกรมดังรูปที่ 1. ทำการดับเบิลคลิกที่ไฟล์ WindowsXP-KB907265-x86-ENU.exe
รูปที่ 1. MMC Setup file
2. วินโดวส์จะแจ้งเตือนเรื่องความปลอดภัยให้คลิก Run เพื่อยืนยันการติดตั้ง
รูปที่ 2. Open file security warning
3.ในไดอะล็อกบ็อกซ์วิซาร์ด Update for Windows XP (KB907265) ให้คลิก Next เพื่อเริ่มทำการติดตั้ง
รูปที่ 3. Software update installation wizard
4.ในไดอะล็อกบ็อกซ์วิซาร์ด License Agreement ให้คลิก I Agree เพื่อยอมรับเงื่อนไขการใช้งาน เสร็จแล้วคลิก Next เพื่มทำการติดตั้งโปรแกรม MMC 3.0
รูปที่ 4. License Agreement
5.ระบบจะทำการติดตั้ง ให้รอจนการติดตั้งแล้วเสร็จ
รูปที่ 5. Updating Your system
6.ในไดอะล็อกบ็อกซ์วิซาร์ด Completing the update ให้คลิก Finish เพื่อจบการติดตั้ง MMC 3.0
รูปที่ 6. Completing the update
เริ่มต้นใช้งาน MMC 3.0
1. เรียกใช้งาน MMC 3.0
ก่อนที่จะสามารถใช้งาน Action pan ใน MMC 3.0 นั้น จะต้องทำการเพิ่มรีจีสทรี HKLM\Software\Microsoft\MMC\UseNewUI ก่อน แล้วจึงทำการเปิด MMC โดยการคลิก Start คลิก Run พิมพ์ MMC ในช่อง Open แล้วกด Enter จะได้หน้าต่าง MMC 3.0 ดังรูปที่ 7. หากคลิกเมนู Help แล้วคลิก About Microsoft Management Console จะเห็นว่าเป็น Microsoft Management Console 3.0 ดังรูปที่ 8.
รูปที่ 7. MMC 3.0
รูปที่ 8. MMC3.0 About
2. การปรับแต่งหน้าต่าง MMC 3.0
เมื่อทำการเปิด MMC 3.0 ครั้งแรก จะยังทำการแสดงหน้าต่างเริ่มต้นเหมือนกันกับ MMC 2.0 ดังนั้นเราต้องทำการปรับแต่งก่อน โดยการคลิกทีเมนู View แล้วคลิก Customize ดังรูปที่ 9. ในไดอะล็อก Customize View ให้เลือกค่าที่ต้องการให้แสดงดังรูปที่ 10. จากนั้นคลิก OK จะได้หน้าต่าง MMC ตามที่เรากำหนด ดังรูปที่ 11.
รูปที่ 9. MMC 3.0 Customize
รูปที่ 10. Customize View
รูปที่ 11. MMC3.0 with Actions pan
3. การใช้งาน Actions pan
ในกรณีการจัดการผู้ใช้ให้คลิกที่โฟลเดอร์ Users ดังรูปที่ 12. จากนั้นคลิกเลือก User ที่ต้องการ แล้วคลิกเลือกการกระทำที่ต้องการจาก Actions pan เช่น เลือกแก้ไข Properties ของ user ต้น ดังรูปที่ 13. ซึ่งระบบจะทำการเปิดไดอะล็อกบ็อกซ์ของคำสั่งที่เลือกขึ้นมาอีกหนึ่งหน้าเพื่อให้เลือกใช้งาน
รูปที่ 12. Local user management
รูปที่ 13. Local user management actions
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
• การเรียกใช้งานคำสั่งในคอนโทรลพาเนลจากชื่อไฟล์
Microsoft Management Console MMC 3.0
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Wednesday, April 4, 2007
Microsoft Security Bulletin MS07-017
ไมโครซอฟต์อัพเดท MS07-017
ไมโครซอฟต์ได้ออกอัพเดทลำดับที่ MS07-017 Vulnerabilities in GDI Could Allow Remote Code Execution (925902) เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในระดับวิกฤต (Critical) ของระบบปฏิบัติการ Windows 2000, Windows XP, Windows Server 2003 และ Windows Vista ซึ่งข้อบกพร่องดังกล่าวชื่อว่า Graphic Device Interface (GDI) โดยเมื่อผู้ใช้ทำการแอคเซสไฟล์ประเภท WMF หรือ EMF จะทำให้ผู้ใช้ธรรมดาสามารถเข้าควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เทียบเท่าผู้ดูแลระบบ (Administrator) ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยให้ผู้ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows เวอร์ชันที่ได้รับผลกระทบทำการอัพเดทระบบในทันที่ที่ทำได้
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่: Microsoft Security Bulletin MS07-017
Copyright © 2007 TWA Blog. All Rights Reserved.
ไมโครซอฟต์ได้ออกอัพเดทลำดับที่ MS07-017 Vulnerabilities in GDI Could Allow Remote Code Execution (925902) เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในระดับวิกฤต (Critical) ของระบบปฏิบัติการ Windows 2000, Windows XP, Windows Server 2003 และ Windows Vista ซึ่งข้อบกพร่องดังกล่าวชื่อว่า Graphic Device Interface (GDI) โดยเมื่อผู้ใช้ทำการแอคเซสไฟล์ประเภท WMF หรือ EMF จะทำให้ผู้ใช้ธรรมดาสามารถเข้าควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เทียบเท่าผู้ดูแลระบบ (Administrator) ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยให้ผู้ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows เวอร์ชันที่ได้รับผลกระทบทำการอัพเดทระบบในทันที่ที่ทำได้
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่: Microsoft Security Bulletin MS07-017
Copyright © 2007 TWA Blog. All Rights Reserved.
What is the SID (Security Identifier)?
รู้จักกับ Security Identifier (SID) บนระบบ Windows
Last updated: 3 ก.ค. 54
ออบเจ็กต์ต่างๆ ภายในระบบปฏิบัติการ Windows ตระกูล NT นั้นจะมีหมายเลขประจำตัวขนาด 48 บิต ที่ไม่ซ้ำกันภายในเครื่องและระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกว่า Security Identifier หรือ SID โดยหมายเลข SID นั้นจะขึ้นด้วยตัวอักษร S และตามด้วยตัวเลข 7 ส่วนด้วยกัน ซึ่งแต่ละส่วนจะแยกจากกันด้วยเครื่องหมายขีด (-) ค่าที่ 1 จะเป็นหมายเลขเวอร์ชันซึ่งในปัจจุบันเป็น 1 ค่าที่ 2 จะเป็นค่า Identifier Authority ซึ่งค่าจะเป็น 5 เสมอ ค่าที่ 3-6 จะเป็น Sub-authority โดยค่าที่ 3 เป็น 21 ค่าที่ 4-6 จะเป็นชุดตัวเลขชุดละ 10 ตัว ค่าที่ 7 จะเป็นค่า Relative Identifier (RID) โดยกระบวนการทำงานภายในระบบ Windows จะอ้างอิงค่า SID ของยูสเซอร์ในการระบุตัวตนเป็นส่วนมาก เช่น Access control list ซึ่งควบคุมการถึงไฟล์และโฟลเดอร์ เป็นต้น
ตัวอย่างค่า SID
S-1-5-21-2025429265-884357618-682003330-500
S-1-5-21-2025429265-884357618-682003330-1003
วิธีการดูค่า SID
1. ใช้โปรแกรม Whoami ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มาพร้อมกับ Windows Server 2003 สามารถทำงานในระบบปฏิบัติการ Windows ตระกูล NT ทุกเวอร์ชัน วิธีการใช้ทำได้โดยการรันคำสั่ง whoami /user ที่คอมมานด์พร็อมท์ เอ้าต์พุตที่ได้จะมีลักษณะดังรูปที่ 1 ซึ่ง SID เท่ากับ S-1-5-21-4167332444-2277117162-1123050737-500
2. ใช้โปรแกรม user2sid ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย Evgenii Rudyii เป็นเครื่องมือที่รันจากคอมมานด์พร็อมท์ วิธีการใช้ทำได้โดยการรันคำสั่ง user2sid user ที่คอมมานด์พร็อมท์ เอ้าต์พุตที่ได้จะมีลักษณะดังรูปที่ 2 ซึ่ง SID เท่ากับ S-1-5-21-2233577086-3231807015-974206408-500
สำหรับรายละเอียดโปรแกรม user2sid สามารถอ่านเพิ่มเติมที่NTBugtraq.com หรือ WindowsItPro.com และดาวน์โหลดได้ฟรีจากเว็บไซต์ Download SID หรือที่ Download User2Sid
หมายเหตุ:
ค่า SID ของผู้ดูแลระบบ (Administrator) นั้นจะมีตัวเลข 3 ตัวหลังเป็น 500 เสมอ
ค่า SID ของยูสเซอร์ที่สร้างขึ้นก่อนจะมีตัวเลข 4 ตัวหลังน้อยกว่าของยูสเซอร์ที่สร้างขึ้นหลังเสมอ
บทความโดย: Windows Administrator Blog
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Last updated: 3 ก.ค. 54
ออบเจ็กต์ต่างๆ ภายในระบบปฏิบัติการ Windows ตระกูล NT นั้นจะมีหมายเลขประจำตัวขนาด 48 บิต ที่ไม่ซ้ำกันภายในเครื่องและระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกว่า Security Identifier หรือ SID โดยหมายเลข SID นั้นจะขึ้นด้วยตัวอักษร S และตามด้วยตัวเลข 7 ส่วนด้วยกัน ซึ่งแต่ละส่วนจะแยกจากกันด้วยเครื่องหมายขีด (-) ค่าที่ 1 จะเป็นหมายเลขเวอร์ชันซึ่งในปัจจุบันเป็น 1 ค่าที่ 2 จะเป็นค่า Identifier Authority ซึ่งค่าจะเป็น 5 เสมอ ค่าที่ 3-6 จะเป็น Sub-authority โดยค่าที่ 3 เป็น 21 ค่าที่ 4-6 จะเป็นชุดตัวเลขชุดละ 10 ตัว ค่าที่ 7 จะเป็นค่า Relative Identifier (RID) โดยกระบวนการทำงานภายในระบบ Windows จะอ้างอิงค่า SID ของยูสเซอร์ในการระบุตัวตนเป็นส่วนมาก เช่น Access control list ซึ่งควบคุมการถึงไฟล์และโฟลเดอร์ เป็นต้น
ตัวอย่างค่า SID
S-1-5-21-2025429265-884357618-682003330-500
S-1-5-21-2025429265-884357618-682003330-1003
วิธีการดูค่า SID
1. ใช้โปรแกรม Whoami ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มาพร้อมกับ Windows Server 2003 สามารถทำงานในระบบปฏิบัติการ Windows ตระกูล NT ทุกเวอร์ชัน วิธีการใช้ทำได้โดยการรันคำสั่ง whoami /user ที่คอมมานด์พร็อมท์ เอ้าต์พุตที่ได้จะมีลักษณะดังรูปที่ 1 ซึ่ง SID เท่ากับ S-1-5-21-4167332444-2277117162-1123050737-500
รูปที่ 1. whoami
2. ใช้โปรแกรม user2sid ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย Evgenii Rudyii เป็นเครื่องมือที่รันจากคอมมานด์พร็อมท์ วิธีการใช้ทำได้โดยการรันคำสั่ง user2sid user ที่คอมมานด์พร็อมท์ เอ้าต์พุตที่ได้จะมีลักษณะดังรูปที่ 2 ซึ่ง SID เท่ากับ S-1-5-21-2233577086-3231807015-974206408-500
สำหรับรายละเอียดโปรแกรม user2sid สามารถอ่านเพิ่มเติมที่
รูปที่ 2. user2sid
หมายเหตุ:
ค่า SID ของผู้ดูแลระบบ (Administrator) นั้นจะมีตัวเลข 3 ตัวหลังเป็น 500 เสมอ
ค่า SID ของยูสเซอร์ที่สร้างขึ้นก่อนจะมีตัวเลข 4 ตัวหลังน้อยกว่าของยูสเซอร์ที่สร้างขึ้นหลังเสมอ
บทความโดย: Windows Administrator Blog
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.