การใช้งาน System Restore ใน Windows Vista
System Restore นั้นจะช่วยในการเรียกคืนระบบในกรณีที่วินโดวส์มีปัญหา โดยจะทำการรีสโตร์ ไฟล์ระบบ, โปรแกรมต่างๆ และการตั้งค่ารีจีสทรีของวินโดวส์ กลับไปยังจุดที่สร้างเก็บไว้ (ต้องเป็นจุดก่อนที่จะเกิดปัญหา) โดยการทำ System Restore นั้นจะไม่มีผลกับข้อมูลหรือไฟล์ในส่วนของยูสเซอร์ เช่น อีเมล, ไฟล์เอกสาร, ไฟล์รูปภาพ เป็นต้น (System Restore ไม่สามารถกู้คืนข้อมูลหรือไฟล์ในส่วนของยูสเซอร์ที่ถูกลบไปได้)
การสร้าง Restore Point
การสร้าง Restore Point มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิก Start คลิก All Programs คลิก Accessories คลิก System Tools แล้วคลิก System Restore
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ User Account Control ให้คลิก Continue
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Restore system file and Settings ให้คลิก open System protection
รูปที่ 1 open System protection
4. บนแท็บ System Protection ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ System Properties ให้คลิก Create
รูปที่ 2 System protection tab
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ System Protection ให้ใส่คำอธิบายของ restore point เสร็จแล้วดลิก Create ระบบจะทำการสร้าง restore point ให้รอจนการทำงานแล้วเสร็จ
รูปที่ 3 Description
รูปที่ 4 Creating a restore point
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ที่แจ้งว่า The restore point was created successfully ใหคลิก OK
รูปที่ 5 The restore point was created successfully
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ System Properties คลิก OK เพื่อจบการสร้าง restore point
การ Restore system บน Windows Vista
การ Restore ระบบ Windows Vista มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิก Start คลิก All Programs คลิก Accessories คลิก System Tools แล้วคลิก System Restore
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ User Account Control ให้คลิก Continue
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Restore system file and Settings ในกรณีที่มี restore point เดียวให้คลิก Next
รูปที่ 6 Restore system file and Settings
4. ในกรณีที่มี restore point หลายชุด โดยดีฟอลท์ระบบจะเลือกเป็น Recommended restore ให้คลิก Next หากต้องการเลือกดีฟอลท์ restore point จากนั้นไปขั้นตอนที่ 7
5. ในกรณีที่มี restore point หลายชุด และไม่ต้องการใช้ ดีฟอลท์ restore point ให้คลิก Choose a different restore point เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 7 Choose a different restore point
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Choos a restore point ให้ทำการเลือก restore point ที่ต้องการเสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 8 Choos a restore point
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Confirm your restore point ให้คลิก Finish เพื่อยืนยันการรีสโตร์
รูปที่ 9 Confirm your restore point
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ถัดไป ระบบจะแจ้งว่าในระหว่างการรีสโตร์นั้น ไม่ให้ยูสเซอร์รบกวนการทำงาน ให้คลิก Yes เพื่อยืนยันการรีสโตร์
รูปที่ 10 System restore
รูปที่ 11 Preparing to restore system
9. ระบบจะทำการรีสโตร์ระบบกลับไปยัง restore point ที่กำหนด โดยหลังจากทำการรีสโตร์เสร็จจะทำการรีสตาร์ทระบบหนึ่งครั้ง เมื่อทำการรีสตาร์ทแล้วเสร็จ ยูสเซอร์สามารถใช้งานได้ตามปกติ โดยหลังจากยูสเซอร์ล็อกออนวินโดวส์จะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ดังรูปที่ 12 ให้คลิก Close เพื่อจบการทำรีสโตร์ระบบ
รูปที่ 12 System Restore completed successfully
Keywords: Windows Vista System Restore Restore point
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
Pages - Menu
▼
Pages - Menu
▼
Pages
▼
Monday, March 31, 2008
Saturday, March 29, 2008
การรีมูฟ Domain Controller
การรีมูฟวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ออกจากการเป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์
วิธีการการรีมูฟวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ออกจากการเป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ นั้นมีขั้นตอนดังนี้
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยยูสเซอร์ที่เป็นแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role Remove Confirmation ให้คลิกเลือกช่องสี่เหลี่ยมหน้า Remove the domain controller role เสร็จแล้วคลิก Next
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Remove Active Directory ให้คลิก Next (แต่ถ้าหากเป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ตัวสุดท้ายของโดเมนให้คลิกเลือกช่องสี่เหลี่ยมหน้า The server is the last domain controller in the domain เสร็จแล้วคลิก Next)
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ด ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ Enterprise Administrator ในฟอเรสต์ โดยในช่อง Domain ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้ เสร็จแล้วคลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดของแอคเคาต์ server Administrator ในช่อง New Administrator Password และ Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
11. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
12. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์แอดมินนีสเตรเตอร์ และพาสเวิร์ดที่กำหนดในขั้นตอนที่ 8
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Role Removed ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Remove Domain Controller
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
วิธีการการรีมูฟวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ออกจากการเป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ นั้นมีขั้นตอนดังนี้
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยยูสเซอร์ที่เป็นแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role Remove Confirmation ให้คลิกเลือกช่องสี่เหลี่ยมหน้า Remove the domain controller role เสร็จแล้วคลิก Next
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Remove Active Directory ให้คลิก Next (แต่ถ้าหากเป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ตัวสุดท้ายของโดเมนให้คลิกเลือกช่องสี่เหลี่ยมหน้า The server is the last domain controller in the domain เสร็จแล้วคลิก Next)
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนมและพาสเวิร์ด ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ Enterprise Administrator ในฟอเรสต์ โดยในช่อง Domain ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้ เสร็จแล้วคลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดของแอคเคาต์ server Administrator ในช่อง New Administrator Password และ Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
11. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
12. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์แอดมินนีสเตรเตอร์ และพาสเวิร์ดที่กำหนดในขั้นตอนที่ 8
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Role Removed ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Remove Domain Controller
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
Microsoft Windows Server 7
Microsoft Windows Server 7
ไมโครซอฟท์ได้วางแผนการพัฒนาวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เวอร์ชั่นใหม่ต่อจาก Windows Server 2008 โดยมีชื่อรหัสในการพัฒนาว่า Windows Server 7 (ในขณะที่วินโดวส์เวอร์ชั่นใหม่ที่จะต่อจาก Vista จะมีชื่อรหัสในการพัฒนาว่า Windows 7) ซึ่งใน Windows Server 7 นี้ คาดว่าไมโครซอฟท์จะออกในเวอร์ชัน 64 บิต เพียงเวอร์ชันเดียว สำหรับกำหนดการแล้วเสร็จนั้นคาดว่าไมโครซอฟท์น่าจะออก Winodws Server 7 ภายในปี 2010 หลังจากที่ออก Windows Server 2008 R2 เรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติม
Windows Server 7 เว็บไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_Server_7
Keywords: Windows Server 7
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
ไมโครซอฟท์ได้วางแผนการพัฒนาวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เวอร์ชั่นใหม่ต่อจาก Windows Server 2008 โดยมีชื่อรหัสในการพัฒนาว่า Windows Server 7 (ในขณะที่วินโดวส์เวอร์ชั่นใหม่ที่จะต่อจาก Vista จะมีชื่อรหัสในการพัฒนาว่า Windows 7) ซึ่งใน Windows Server 7 นี้ คาดว่าไมโครซอฟท์จะออกในเวอร์ชัน 64 บิต เพียงเวอร์ชันเดียว สำหรับกำหนดการแล้วเสร็จนั้นคาดว่าไมโครซอฟท์น่าจะออก Winodws Server 7 ภายในปี 2010 หลังจากที่ออก Windows Server 2008 R2 เรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติม
Windows Server 7 เว็บไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_Server_7
Keywords: Windows Server 7
© 2007 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
การติดตั้ง New Domain ใน Existing Forest
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยูสเซอร์ที่เป็นแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configuration Options ให้คลิกเลือก Custom Configuration เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
Server Role
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary of Selections ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Operating System Compatibility ให้คลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Type ให้คลิกเลือก Domain Controller for a new domain เสร็จแล้วคลิก Next
Domain Controller Type
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Create New Domain ให้เลือกเป็น Domain tree in an existing forest เสร็จแล้วคลิก Next
Create New Domain
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนม, พาสเวิร์ด และโดนเมนเนม ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ในการติดตั้ง Active Directory ในช่อง User name, Password และ Domain ตามลำดับ เสร็จแล้วคลิก Next
Network Credentials
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ New Domain Tree ให้พิมพ์ชื่อเต็มของ Domain ในช่อง Full DNS name for new domain เสร็จแล้วคลิก Next
New Domain Tree
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ NetBIOS Domain Name ให้คลิก Next
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Database and Log Folders ในช่อง Database folder ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้โดยอัตโนมัติ ส่วนในช่อง Log folder นั้นหากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มี partition เดียวก็ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ แต่หากมี partition อื่นก็ให้เลือกเป็น partition อื่นก็ได้ เสร็จแล้วคลิก Next
14. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Shared System Volume ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ เสร็จแล้วให้คลิก Next
15. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Permissions ให้คลิกเลือก Permission ที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
16. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Directory Services Restore Mode Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดที่ต้องการในช่อง Restore Mode Password และ ในช่อง Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
Directory Services Restore Mode Administrator Password
16. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next แล้วรอให้ระบบจะทำการติดตั้ง Active Directory
17. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
18. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
19. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์โดเมนแอดมิน
20. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard ขึ้นมาแจ้งว่า ขณะนี้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Active Directory AD Installation
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configuration Options ให้คลิกเลือก Custom Configuration เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
Server Role
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary of Selections ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Operating System Compatibility ให้คลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Type ให้คลิกเลือก Domain Controller for a new domain เสร็จแล้วคลิก Next
Domain Controller Type
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Create New Domain ให้เลือกเป็น Domain tree in an existing forest เสร็จแล้วคลิก Next
Create New Domain
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนม, พาสเวิร์ด และโดนเมนเนม ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ในการติดตั้ง Active Directory ในช่อง User name, Password และ Domain ตามลำดับ เสร็จแล้วคลิก Next
Network Credentials
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ New Domain Tree ให้พิมพ์ชื่อเต็มของ Domain ในช่อง Full DNS name for new domain เสร็จแล้วคลิก Next
New Domain Tree
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ NetBIOS Domain Name ให้คลิก Next
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Database and Log Folders ในช่อง Database folder ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้โดยอัตโนมัติ ส่วนในช่อง Log folder นั้นหากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มี partition เดียวก็ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ แต่หากมี partition อื่นก็ให้เลือกเป็น partition อื่นก็ได้ เสร็จแล้วคลิก Next
14. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Shared System Volume ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ เสร็จแล้วให้คลิก Next
15. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Permissions ให้คลิกเลือก Permission ที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
16. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Directory Services Restore Mode Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดที่ต้องการในช่อง Restore Mode Password และ ในช่อง Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
Directory Services Restore Mode Administrator Password
16. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next แล้วรอให้ระบบจะทำการติดตั้ง Active Directory
17. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
18. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
19. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์โดเมนแอดมิน
20. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard ขึ้นมาแจ้งว่า ขณะนี้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Active Directory AD Installation
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
Microsoft Windows 7 วินโดวส์เวอร์ชันใหม่ต่อจาก Windows Vista
Windows 7 วินโดวส์เวอร์ชันใหม่ต่อจาก Windows Vista
ไมโครซอฟท์ได้วางแผนการพัฒนาวินโดวส์เวอร์ชั่นใหม่ต่อจาก Windows Vista ซึ่งมีชื่อรหัสในการพัฒนาว่า Windows 7 (โค้ดเนม Blackcomb และ Vienna) โดยไมโครซอฟท์จะยังคงพัฒนา Windows 7 ใน 2 เวอร์ชัน คือ เวอร์ชัน 32 บิต และ เวอร์ชัน 64 บิต สำหรับการทำงานของ Windows 7 นั้น จะมีการทำงานในลักษณะแบบโมดูล ซึ่งยูสเซอร์จะสามารถเลือกติดตั้งใช้งานเฉพาะโมดูลที่ตนเองต้องการได้โดยไม่จำเป็นต้องติดตั้งวินโดวส์ทั้งระบบ
สำหรับความคืบหน้าในการพัฒนา Windows 7 นั้น ในปัจจุบันจะอยู่ในเฟส Milestone 1 (Windows 7 Build 6519) สำหรับกำหนดการแล้วเสร็จนั้น คาดว่าไมโครซอฟท์น่าจะออก Winodws 7 ภายในปี 2010
รายละเอียดเพิ่มเติม
1. Windows 7 เว็บไซต์ http:://en.wikipedia.org/ เว็บไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_7
2. Windows 7 to be Modular? เว็บไซต์ http://www.gizmodo.com.au/2008/03/windows_7_to_be_modular.html
3. Windows 7 M1: Nothing to get excited about เว็บไซต์ http://www.tgdaily.com/content/view/35936/140/
Windows 7
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
ไมโครซอฟท์ได้วางแผนการพัฒนาวินโดวส์เวอร์ชั่นใหม่ต่อจาก Windows Vista ซึ่งมีชื่อรหัสในการพัฒนาว่า Windows 7 (โค้ดเนม Blackcomb และ Vienna) โดยไมโครซอฟท์จะยังคงพัฒนา Windows 7 ใน 2 เวอร์ชัน คือ เวอร์ชัน 32 บิต และ เวอร์ชัน 64 บิต สำหรับการทำงานของ Windows 7 นั้น จะมีการทำงานในลักษณะแบบโมดูล ซึ่งยูสเซอร์จะสามารถเลือกติดตั้งใช้งานเฉพาะโมดูลที่ตนเองต้องการได้โดยไม่จำเป็นต้องติดตั้งวินโดวส์ทั้งระบบ
สำหรับความคืบหน้าในการพัฒนา Windows 7 นั้น ในปัจจุบันจะอยู่ในเฟส Milestone 1 (Windows 7 Build 6519) สำหรับกำหนดการแล้วเสร็จนั้น คาดว่าไมโครซอฟท์น่าจะออก Winodws 7 ภายในปี 2010
รายละเอียดเพิ่มเติม
1. Windows 7 เว็บไซต์ http:://en.wikipedia.org/ เว็บไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_7
2. Windows 7 to be Modular? เว็บไซต์ http://www.gizmodo.com.au/2008/03/windows_7_to_be_modular.html
3. Windows 7 M1: Nothing to get excited about เว็บไซต์ http://www.tgdaily.com/content/view/35936/140/
Windows 7
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
การติดตั้ง Additional Domain Controller
การติดตั้ง Additional Domain Controller
ในตัวอย่างนี้ จะแสดงถึงขั้นตอนการติดตั้งวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ใน Existing Domain ซึ่งมีขั้นตอนการทำดังนี้
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยูสเซอร์ที่เป็นแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configuration Options ให้คลิกเลือก Custom Configuration เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
Server Role
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary of Selections ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Operating System Compatibility ให้คลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Type ให้เลือกเป็น Additional Domain Controller for an existing domain เสร็จแล้วคลิก Next
Domain Controller Type
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนม, พาสเวิร์ด และโดนเมนเนม ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ในการติดตั้ง Active Directory ในช่อง User name, Password และ Domain ตามลำดับ เสร็จแล้วคลิก Next
Network Credentials
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Additional Domain Controller ให้ใส่ชื่อโดเมนแม่ในช่อง Domain name เสร็จแล้วคลิก Next
Additional Domain Controller
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Database and Log Folders ในช่อง Database folder ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้โดยอัตโนมัติ ส่วนในช่อง Log folder นั้นหากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มี partition เดียวก็ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ แต่หากมี partition อื่นก็ให้เลือกเป็น partition อื่นก็ได้ เสร็จแล้วคลิก Next
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Shared System Volume ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ เสร็จแล้วให้คลิก Next
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Directory Services Restore Mode Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดที่ต้องการในช่อง Restore Mode Password และ ในช่อง Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
Directory Services Restore Mode Administrator Password
14. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next แล้วรอให้ระบบจะทำการติดตั้ง Active Directory
15. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
16. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
17. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์โดเมนแอดมิน
18. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard ขึ้นมาแจ้งว่า ขณะนี้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Additional Domain Controller DC
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
ในตัวอย่างนี้ จะแสดงถึงขั้นตอนการติดตั้งวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ใน Existing Domain ซึ่งมีขั้นตอนการทำดังนี้
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยูสเซอร์ที่เป็นแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configuration Options ให้คลิกเลือก Custom Configuration เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
Server Role
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary of Selections ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Operating System Compatibility ให้คลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Type ให้เลือกเป็น Additional Domain Controller for an existing domain เสร็จแล้วคลิก Next
Domain Controller Type
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนม, พาสเวิร์ด และโดนเมนเนม ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ในการติดตั้ง Active Directory ในช่อง User name, Password และ Domain ตามลำดับ เสร็จแล้วคลิก Next
Network Credentials
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Additional Domain Controller ให้ใส่ชื่อโดเมนแม่ในช่อง Domain name เสร็จแล้วคลิก Next
Additional Domain Controller
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Database and Log Folders ในช่อง Database folder ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้โดยอัตโนมัติ ส่วนในช่อง Log folder นั้นหากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มี partition เดียวก็ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ แต่หากมี partition อื่นก็ให้เลือกเป็น partition อื่นก็ได้ เสร็จแล้วคลิก Next
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Shared System Volume ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ เสร็จแล้วให้คลิก Next
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Directory Services Restore Mode Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดที่ต้องการในช่อง Restore Mode Password และ ในช่อง Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
Directory Services Restore Mode Administrator Password
14. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next แล้วรอให้ระบบจะทำการติดตั้ง Active Directory
15. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
16. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
17. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์โดเมนแอดมิน
18. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard ขึ้นมาแจ้งว่า ขณะนี้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Additional Domain Controller DC
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
การติดตั้ง Child Domain
การติดตั้ง Child domain
การติดตั้ง Child domain นั้น จะเป็นการติดตั้งวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ในโดเมนใหม่เป็นโดเมนลูก (Child Domain) ภายใต้โดเมนแม่ที่มีอยู่ก่อนแล้ว (Parent domain) โดยวิธีการติดตั้ง มีขั้นตอนดังนี้
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยยูสเซอร์ที่เป็นโลคอลแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configuration Options ให้คลิกเลือก Custom Configuration เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
Server Role
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary of Selections ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Operating System Compatibility ให้คลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Type ให้คลิกเลือก Domain Controller for a new domain เสร็จแล้วคลิก Next
Domain Controller Type
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Create New Domain ให้เลือกเป็น Child domain in an existing domain tree เสร็จแล้วคลิก Next
Create New Domain
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนม, พาสเวิร์ด และโดนเมนเนม ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ในการติดตั้ง Active Directory ในช่อง User name, Password และ Domain ตามลำดับ เสร็จแล้วคลิก Next
Network Credentials
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Child Domain Installation ให้ใส่ชื่อโดเมนแม่ในช่อง Parent Domain และชื่อโดเมนลูกที่ต้องการในช่อง Child Domain เสร็จแล้วคลิก Next
Child Dimain Installation
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ NetBIOS Domain Name ให้คลิก Next
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Database and Log Folders ในช่อง Database folder ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้โดยอัตโนมัติ ส่วนในช่อง Log folder นั้นหากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มี partition เดียวก็ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ แต่หากมี partition อื่นก็ให้เลือกเป็น partition อื่นก็ได้ เสร็จแล้วคลิก Next
14. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Shared System Volume ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ เสร็จแล้วให้คลิก Next
15. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ DNS Registration Diagnostics ให้คลิก Next
16. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Permissions ให้คลิกเลือก Permission ที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
17. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Directory Services Restore Mode Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดที่ต้องการในช่อง Restore Mode Password และ ในช่อง Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
18. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next แล้วรอให้ระบบจะทำการติดตั้ง Active Directory
19. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
20. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
21. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์แอดมิน วินโดวส์จะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard ขึ้นมาแจ้งว่า ขณะนี้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Child Domain
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
การติดตั้ง Child domain นั้น จะเป็นการติดตั้งวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ในโดเมนใหม่เป็นโดเมนลูก (Child Domain) ภายใต้โดเมนแม่ที่มีอยู่ก่อนแล้ว (Parent domain) โดยวิธีการติดตั้ง มีขั้นตอนดังนี้
1. ทำการล็อกออนเข้าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ด้วยยูสเซอร์ที่เป็นโลคอลแอดมิน จากนั้นในหน้า Manage Your Server ให้คลิกที่ Add or remove a role จะได้หน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps
Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Preliminary Steps ให้คลิก Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configuration Options ให้คลิกเลือก Custom Configuration เสร็จแล้วคลิก Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Server Role ให้คลิกเลือก Domain Controller (Active Directory) เสร็จแล้วคลิก Next
Server Role
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary of Selections ให้คลิก Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Operating System Compatibility ให้คลิก Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Domain Controller Type ให้คลิกเลือก Domain Controller for a new domain เสร็จแล้วคลิก Next
Domain Controller Type
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Create New Domain ให้เลือกเป็น Child domain in an existing domain tree เสร็จแล้วคลิก Next
Create New Domain
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Network Credentials ให้ใส่ยูสเซอร์เนม, พาสเวิร์ด และโดนเมนเนม ของยูสเซอร์ที่มีระดับสิทธิ์ในการติดตั้ง Active Directory ในช่อง User name, Password และ Domain ตามลำดับ เสร็จแล้วคลิก Next
Network Credentials
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Child Domain Installation ให้ใส่ชื่อโดเมนแม่ในช่อง Parent Domain และชื่อโดเมนลูกที่ต้องการในช่อง Child Domain เสร็จแล้วคลิก Next
Child Dimain Installation
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ NetBIOS Domain Name ให้คลิก Next
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Database and Log Folders ในช่อง Database folder ให้ใช้ค่าที่ระบบกำหนดให้โดยอัตโนมัติ ส่วนในช่อง Log folder นั้นหากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มี partition เดียวก็ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ แต่หากมี partition อื่นก็ให้เลือกเป็น partition อื่นก็ได้ เสร็จแล้วคลิก Next
14. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Shared System Volume ให้ใช้ค่าที่กำหนดให้อัตโนมัติ เสร็จแล้วให้คลิก Next
15. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ DNS Registration Diagnostics ให้คลิก Next
16. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Permissions ให้คลิกเลือก Permission ที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
17. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Directory Services Restore Mode Administrator Password ให้ใส่พาสเวิร์ดที่ต้องการในช่อง Restore Mode Password และ ในช่อง Confirm password เสร็จแล้วคลิก Next
18. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Summary ให้คลิก Next แล้วรอให้ระบบจะทำการติดตั้ง Active Directory
19. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Completing the Active Directory Installation Wizard ให้คลิก Finish
20. ทำการรีสตาร์ทเครื่องโดยคลิก Restart Now
21. เมื่อเซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้งาน ให้ทำการล็อกออนด้วยยูสเซอร์แอดมิน วินโดวส์จะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard ขึ้นมาแจ้งว่า ขณะนี้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ ให้คลิก Finish
Keywords: Windows Server 2003 Child Domain
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
Friday, March 28, 2008
Regsvr32 usage and error messages
การใช้เครื่องมือ Regsvr32 และข้อผิดพลาด
เมื่อผู้ใช้ Windows ต้องการแก้ไขปัญหาบางอย่างใน Windows หรือ Internet Explorer หรือโปรแกรมอื่นๆ ผู้ใช้ Windows XP สามารถใช้เครื่องมือ Regsvr32 (Regsvr32.exe) เพื่อลงทะเบียนและยกเลิกการลงทะเบียนคอนโทรล OLE เช่น DLL หรือไฟล์ ActiveX Controls (OCX) ต่างๆ ที่ลงทะเบียนได้ด้วยตนเอง
ในกรณีการลงทะเบียนคอนโทรลไม่สำเร็จหรือว่าต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถอ่านรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ KB140346
เครื่องมือ Regsvr32.exe นั้นจะให้มากับ Internet Explorer 3.0 หรือเวอร์ชันใหม่กว่า โดยบนระบบปฏิบัติการ Windows NT, Windows XP และ Windows Vista นั้นจะติดตั้งในโฟลเดอร์ System32
การใช้งานเครื่องมือ Regsvr32.exe
เครื่องมือ Regsvr32.exe มีอ็อปชันดังนี้
Regsvr32 [/u] [/n] [/i[:cmdline]] dllname
/u - ยกเลิกการลงทะเบียนเซิร์ฟเวอร์
/i - เรียกใช้ DllInstall ที่ส่งผ่านเป็นอ็อปชันเพิ่มเติมของ [cmdline] เมื่อใช้ร่วมกับ /u จะเรียกใช้การยกเลิกการติดตั้ง dll
/n - ไม่เรียกใช้ DllRegisterServer ตัวเลือกนี้ต้องใช้คู่กับ /i
/s – Silent ทำงานโดยไม่แสดงข้อความ (มีเฉพาะใน Windows XP และ Windows Vista)
เมื่อทำการรันคำสั่ง Regsvr32.exe จะพยายามโหลดคอมโพเนนต์และเรียกใช้ฟังก์ชัน DLLSelfRegister หากความพยายามนี้สำเร็จ Regsvr32.exe จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์แจ้งให้ทราบว่าสำเร็จ หากความพยายามนี้ไม่สำเร็จ Regsvr32.exe จะแสดงข้อความแสดงข้อผิดพลาด ซึ่งอาจมีรหัสข้อผิดพลาด Win32 ซึ่งสามารถข้อมูลเพิ่มเติมสามารถอ่านรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ http://support.microsoft.com/kb/193625/ สำหรับรหัสข้อผิดพลาดของ WinInet (12001 ถึง 12156)
ตัวอย่าง: การลงทะเบียนคอนโทรล ActiveX ชื่อ Sample.ocx ด้วยตนเอง ให้พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ที่คอมมานด์พร้อมท์
c:\regsvr32.exe sample.ocx
ข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ Regsvr32.exe ใน Windows Vista
รายชื่อต่อไปนี้มีข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ RegSvr32 และที่อาจเป็นไปได้
- The command-flag ""%1"" is not valid. Please review the command usage and try again.
สาเหตุ: มีการส่งต่ออ็อปชันร่วมกันไม่ถูกต้องในคอมมานด์ไลน์ไปยัง regsvr32.exe
- This command is only valid if a Microsoft Visual Studio OLE Custom Control project is opened.
สาเหตุ: Regsvr32.exe ถูกเรียกโดย Visual Studio แต่ไม่มีโมดูลที่ระบุในคอมมานด์ไลน์
- To register a module, you must provide a binary name.
สาเหตุ: Regsvr32.exe ถูกเรียกโดยไม่ได้ระบุโมดูลต่างๆ ในคอมมานด์ไลน์.
- The command OleInitialize failed to run. Your computer might be low on memory. Close any open programs and then try again.
สาเหตุ: Regsvr32 ต้องเตรียมใช้งานไลบรารี COM ก่อนที่จะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของไลบรารี COM ได้และยกเลิกไบบรารีเมื่อปิดระบบ ข้อความแสดงข้อผิดพลาดเหล่านี้เกิดขึ้น หากความพยายามในการเตรียมใช้งานหรือ ยกเลิกการเตรียมใช้งานไลบรารี COM ไม่สำเร็จ
- The module ""%1"" failed to load.\n\n Make sure the binary is stored at the specified path or debug it to check for problems with the binary or dependent .DLL files.\n\n%2.
สาเหตุ: เกิดข้อผิดพลาดในการโหลดโมดูลที่ถูกระบุในคอมมานด์ไลน์ ข้อความผิดพลาดปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของข้อความ
- The module ""%1"" was loaded but the entry-point %2 was not found.\n\nMake sure that ""%1"" is a valid DLL or OCX file and then try again
สาเหตุ: Regsvr32.exe ไม่พบจุดเข้าใช้งานที่ต้องการในโมดูลที่ระบุในคอมมานด์ไลน์ ปัญหานี้อาจเกิดขึ้นได้หากไม่ได้ส่งออกจุดเข้าใช้งานจากโมดูลอย่างเหมาะสม หรือหากโมดูลนี้ไม่ใช่แฟ้ม .DLL หรือ .OCX
- The module ""%1"" was loaded but the call to %2 failed with error code %3.\n\nFor more information about this problem, search online using the error code as a search term.
สาเหตุ: เกิดข้อผิดพลาดเมื่อ regsvr32.exe เรียกจุดเข้าใช้งานในโมดูลที่ระบุอยู่ในคอมมานด์ไลน์ รหัสข้อผิดพลาดปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของข้อความ
- The module ""%1"" may not compatible with the version of Windows that you're running. Check if the module is compatible with an x86 (32-bit) or x64 (64-bit) version of regsvr32.exe.
สาเหตุ: ข้อผิดพลาดนี้อาจเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างเช่น หากเรียกใช้ regsvr32.exe บนเครื่องรุ่น x86 และโมดูลที่ระบุในคอมมานด์ไลน์เป็นโมดูลแบบ 64-บิต
ข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ Regsvr32.exe ในวินโดวส์เวอร์ชันก่อน Windows Vista
รายชื่อต่อไปนี้มีข้อความแสดงข้อผิดพลาด RegSvr32 และสาเหตุที่อาจเป็นไปได้
- Unrecognized flag: /invalid_flag
สาเหตุ: พิมพ์สถานะหรือสวิตช์ร่วมกันไม่ถูกต้อง
- No DLL name specified.
สาเหตุ: ไม่ได้พิมพ์ชื่อแฟ้ม .dll
- Dllname was loaded, but the DllRegisterServer or DllUnregisterServer entry point was not found.
สาเหตุ: Dllname ไม่ใช่แฟ้ม .dll หรือ .ocx ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 wjview.exe ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- Dllname is not an executable file and no registration helper is registered for this file type.
สาเหตุ: Dllname ไม่ใช่แฟ้มที่เรียกใช้งานได้ (.exe, .dll หรือ .ocx) ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 autoexec.bat ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- Dllname was loaded, but the DllRegisterServer or DllUnregisterServer entry point was not found.
สาเหตุ: Dllname ไม่ถูกส่งออกหรือมี Dllname รุ่นที่เสียหายในหน่วยความจำ ให้ลองใช้ Pview เพื่อตรวจหาแฟ้มแล้วลบแฟ้มนั้นทิ้ง
- Dllname is not self-registerable or a corrupted version is in memory.
สาเหตุ: เช่น การพิมพ์ regsvr32 icwdial.dll ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้ เนื่องจากแฟ้ม Icwdial.dll ไม่สามารถลงทะเบียนได้เอง หากสงสัยว่ามีแฟ้ม Dllname ที่เสียหายในหน่วยความจำ ให้ลองเริ่มระบบคอมพิวเตอร์ใหม่หรือลองแตกแฟ้มรุ่นเดิมใหม่อีกครั้ง
- OleInitialize failed (หรือ OleUninitialize failed).
สาเหตุ: Regsvr32 ต้องเตรียมใช้งานไลบรารี COM ก่อนที่จะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของไลบรารี COM ได้และยกเลิกไลบรารีเมื่อปิดระบบ ข้อความแสดงข้อผิดพลาดเหล่านี้เกิดขึ้นหากความพยายามในการเตรียมใช้งานหรือ ยกเลิกการเตรียมใช้งานไลบรารี COM ไม่สำเร็จ เช่น แฟ้ม Ole32.dll อาจเสียหายหรือเป็นรุ่นที่ไม่ถูกต้อง
- LoadLibrary("Dllname") failed. GetlastError returns 0x00000485
สาเหตุ: จาก Winerror.h, 0x00000485 = 1157 (ERROR_DLL_NOT_FOUND) ซึ่งหมายความว่า "ไม่พบแฟ้มไลบรารีที่ต้องการเพื่อใช้แอปพลิเคชันนี้" เช่น การพิมพ์ regsvr32 missing.dll ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้ เนื่องจากไม่พบแฟ้ม Missing.dll
- LoadLibrary("Dllname") failed. GetLastError returns 0x00000002
สาเหตุ: จาก Winerror.h, 0x00000002 = 2 (ERROR_FILE_NOT_FOUND) ซึ่งหมายความว่า "ระบบไม่พบแฟ้มที่ระบุ" หรือไม่พบแฟ้ม DLL ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 icwdial.dll โดย Tapi32.dll (ที่อ้างอิง) สูญหายไป จะทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- LoadLibrary("dskmaint.dll") failed. GetLastError returns 0x000001f
สาเหตุ: จาก Winerror.h, 0x000001f = 31 (ERROR_GEN_FAILURE) ซึ่งหมายความว่า "อุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่กับระบบไม่ทำงาน" ลักษณะการทำงานนี้อาจเกิดขึ้นได้หากคุณพยายามลงทะเบียนแฟ้ม .dll ของ Win16 ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 dskmaint.dll จะทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- DllRegisterServer (or DllUnregisterServer)in Dllname failed. Return code was: string
สาเหตุ: ค้นหา Winerror.h เพื่อหา สตริงนั้น
บทความโดย: Thai Windows Administrator Blog
ที่มา
• Explanation of Regsvr32 usage and error messages
Copyright © 2008 TWA Blog. All Rights Reserved.
เมื่อผู้ใช้ Windows ต้องการแก้ไขปัญหาบางอย่างใน Windows หรือ Internet Explorer หรือโปรแกรมอื่นๆ ผู้ใช้ Windows XP สามารถใช้เครื่องมือ Regsvr32 (Regsvr32.exe) เพื่อลงทะเบียนและยกเลิกการลงทะเบียนคอนโทรล OLE เช่น DLL หรือไฟล์ ActiveX Controls (OCX) ต่างๆ ที่ลงทะเบียนได้ด้วยตนเอง
ในกรณีการลงทะเบียนคอนโทรลไม่สำเร็จหรือว่าต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถอ่านรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ KB140346
เครื่องมือ Regsvr32.exe นั้นจะให้มากับ Internet Explorer 3.0 หรือเวอร์ชันใหม่กว่า โดยบนระบบปฏิบัติการ Windows NT, Windows XP และ Windows Vista นั้นจะติดตั้งในโฟลเดอร์ System32
การใช้งานเครื่องมือ Regsvr32.exe
เครื่องมือ Regsvr32.exe มีอ็อปชันดังนี้
Regsvr32 [/u] [/n] [/i[:cmdline]] dllname
/u - ยกเลิกการลงทะเบียนเซิร์ฟเวอร์
/i - เรียกใช้ DllInstall ที่ส่งผ่านเป็นอ็อปชันเพิ่มเติมของ [cmdline] เมื่อใช้ร่วมกับ /u จะเรียกใช้การยกเลิกการติดตั้ง dll
/n - ไม่เรียกใช้ DllRegisterServer ตัวเลือกนี้ต้องใช้คู่กับ /i
/s – Silent ทำงานโดยไม่แสดงข้อความ (มีเฉพาะใน Windows XP และ Windows Vista)
เมื่อทำการรันคำสั่ง Regsvr32.exe จะพยายามโหลดคอมโพเนนต์และเรียกใช้ฟังก์ชัน DLLSelfRegister หากความพยายามนี้สำเร็จ Regsvr32.exe จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์แจ้งให้ทราบว่าสำเร็จ หากความพยายามนี้ไม่สำเร็จ Regsvr32.exe จะแสดงข้อความแสดงข้อผิดพลาด ซึ่งอาจมีรหัสข้อผิดพลาด Win32 ซึ่งสามารถข้อมูลเพิ่มเติมสามารถอ่านรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ http://support.microsoft.com/kb/193625/ สำหรับรหัสข้อผิดพลาดของ WinInet (12001 ถึง 12156)
ตัวอย่าง: การลงทะเบียนคอนโทรล ActiveX ชื่อ Sample.ocx ด้วยตนเอง ให้พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ที่คอมมานด์พร้อมท์
c:\regsvr32.exe sample.ocx
ข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ Regsvr32.exe ใน Windows Vista
รายชื่อต่อไปนี้มีข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ RegSvr32 และที่อาจเป็นไปได้
- The command-flag ""%1"" is not valid. Please review the command usage and try again.
สาเหตุ: มีการส่งต่ออ็อปชันร่วมกันไม่ถูกต้องในคอมมานด์ไลน์ไปยัง regsvr32.exe
- This command is only valid if a Microsoft Visual Studio OLE Custom Control project is opened.
สาเหตุ: Regsvr32.exe ถูกเรียกโดย Visual Studio แต่ไม่มีโมดูลที่ระบุในคอมมานด์ไลน์
- To register a module, you must provide a binary name.
สาเหตุ: Regsvr32.exe ถูกเรียกโดยไม่ได้ระบุโมดูลต่างๆ ในคอมมานด์ไลน์.
- The command OleInitialize failed to run. Your computer might be low on memory. Close any open programs and then try again.
สาเหตุ: Regsvr32 ต้องเตรียมใช้งานไลบรารี COM ก่อนที่จะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของไลบรารี COM ได้และยกเลิกไบบรารีเมื่อปิดระบบ ข้อความแสดงข้อผิดพลาดเหล่านี้เกิดขึ้น หากความพยายามในการเตรียมใช้งานหรือ ยกเลิกการเตรียมใช้งานไลบรารี COM ไม่สำเร็จ
- The module ""%1"" failed to load.\n\n Make sure the binary is stored at the specified path or debug it to check for problems with the binary or dependent .DLL files.\n\n%2.
สาเหตุ: เกิดข้อผิดพลาดในการโหลดโมดูลที่ถูกระบุในคอมมานด์ไลน์ ข้อความผิดพลาดปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของข้อความ
- The module ""%1"" was loaded but the entry-point %2 was not found.\n\nMake sure that ""%1"" is a valid DLL or OCX file and then try again
สาเหตุ: Regsvr32.exe ไม่พบจุดเข้าใช้งานที่ต้องการในโมดูลที่ระบุในคอมมานด์ไลน์ ปัญหานี้อาจเกิดขึ้นได้หากไม่ได้ส่งออกจุดเข้าใช้งานจากโมดูลอย่างเหมาะสม หรือหากโมดูลนี้ไม่ใช่แฟ้ม .DLL หรือ .OCX
- The module ""%1"" was loaded but the call to %2 failed with error code %3.\n\nFor more information about this problem, search online using the error code as a search term.
สาเหตุ: เกิดข้อผิดพลาดเมื่อ regsvr32.exe เรียกจุดเข้าใช้งานในโมดูลที่ระบุอยู่ในคอมมานด์ไลน์ รหัสข้อผิดพลาดปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของข้อความ
- The module ""%1"" may not compatible with the version of Windows that you're running. Check if the module is compatible with an x86 (32-bit) or x64 (64-bit) version of regsvr32.exe.
สาเหตุ: ข้อผิดพลาดนี้อาจเกิดขึ้นได้ ตัวอย่างเช่น หากเรียกใช้ regsvr32.exe บนเครื่องรุ่น x86 และโมดูลที่ระบุในคอมมานด์ไลน์เป็นโมดูลแบบ 64-บิต
ข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ Regsvr32.exe ในวินโดวส์เวอร์ชันก่อน Windows Vista
รายชื่อต่อไปนี้มีข้อความแสดงข้อผิดพลาด RegSvr32 และสาเหตุที่อาจเป็นไปได้
- Unrecognized flag: /invalid_flag
สาเหตุ: พิมพ์สถานะหรือสวิตช์ร่วมกันไม่ถูกต้อง
- No DLL name specified.
สาเหตุ: ไม่ได้พิมพ์ชื่อแฟ้ม .dll
- Dllname was loaded, but the DllRegisterServer or DllUnregisterServer entry point was not found.
สาเหตุ: Dllname ไม่ใช่แฟ้ม .dll หรือ .ocx ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 wjview.exe ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- Dllname is not an executable file and no registration helper is registered for this file type.
สาเหตุ: Dllname ไม่ใช่แฟ้มที่เรียกใช้งานได้ (.exe, .dll หรือ .ocx) ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 autoexec.bat ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- Dllname was loaded, but the DllRegisterServer or DllUnregisterServer entry point was not found.
สาเหตุ: Dllname ไม่ถูกส่งออกหรือมี Dllname รุ่นที่เสียหายในหน่วยความจำ ให้ลองใช้ Pview เพื่อตรวจหาแฟ้มแล้วลบแฟ้มนั้นทิ้ง
- Dllname is not self-registerable or a corrupted version is in memory.
สาเหตุ: เช่น การพิมพ์ regsvr32 icwdial.dll ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้ เนื่องจากแฟ้ม Icwdial.dll ไม่สามารถลงทะเบียนได้เอง หากสงสัยว่ามีแฟ้ม Dllname ที่เสียหายในหน่วยความจำ ให้ลองเริ่มระบบคอมพิวเตอร์ใหม่หรือลองแตกแฟ้มรุ่นเดิมใหม่อีกครั้ง
- OleInitialize failed (หรือ OleUninitialize failed).
สาเหตุ: Regsvr32 ต้องเตรียมใช้งานไลบรารี COM ก่อนที่จะสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของไลบรารี COM ได้และยกเลิกไลบรารีเมื่อปิดระบบ ข้อความแสดงข้อผิดพลาดเหล่านี้เกิดขึ้นหากความพยายามในการเตรียมใช้งานหรือ ยกเลิกการเตรียมใช้งานไลบรารี COM ไม่สำเร็จ เช่น แฟ้ม Ole32.dll อาจเสียหายหรือเป็นรุ่นที่ไม่ถูกต้อง
- LoadLibrary("Dllname") failed. GetlastError returns 0x00000485
สาเหตุ: จาก Winerror.h, 0x00000485 = 1157 (ERROR_DLL_NOT_FOUND) ซึ่งหมายความว่า "ไม่พบแฟ้มไลบรารีที่ต้องการเพื่อใช้แอปพลิเคชันนี้" เช่น การพิมพ์ regsvr32 missing.dll ทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้ เนื่องจากไม่พบแฟ้ม Missing.dll
- LoadLibrary("Dllname") failed. GetLastError returns 0x00000002
สาเหตุ: จาก Winerror.h, 0x00000002 = 2 (ERROR_FILE_NOT_FOUND) ซึ่งหมายความว่า "ระบบไม่พบแฟ้มที่ระบุ" หรือไม่พบแฟ้ม DLL ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 icwdial.dll โดย Tapi32.dll (ที่อ้างอิง) สูญหายไป จะทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- LoadLibrary("dskmaint.dll") failed. GetLastError returns 0x000001f
สาเหตุ: จาก Winerror.h, 0x000001f = 31 (ERROR_GEN_FAILURE) ซึ่งหมายความว่า "อุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่กับระบบไม่ทำงาน" ลักษณะการทำงานนี้อาจเกิดขึ้นได้หากคุณพยายามลงทะเบียนแฟ้ม .dll ของ Win16 ตัวอย่างเช่น การพิมพ์ regsvr32 dskmaint.dll จะทำให้เกิดข้อความแสดงข้อผิดพลาดนี้
- DllRegisterServer (or DllUnregisterServer)in Dllname failed. Return code was: string
สาเหตุ: ค้นหา Winerror.h เพื่อหา สตริงนั้น
บทความโดย: Thai Windows Administrator Blog
ที่มา
• Explanation of Regsvr32 usage and error messages
Copyright © 2008 TWA Blog. All Rights Reserved.
Wednesday, March 26, 2008
การใช้งาน System Restore ใน Windows XP
การใช้งาน System Restore ใน Windows XP
System Restore นั้นจะช่วยในการเรียกคืนระบบในกรณีที่วินโดวส์มีปัญหา โดยจะทำการรีสโตร์ ไฟล์ระบบ, โปรแกรมต่างๆ และการตั้งค่ารีจีสทรีของวินโดวส์ กลับไปยังจุดที่สร้างเก็บไว้ (ต้องเป็นจุดก่อนที่จะเกิดปัญหา) โดยการทำ System Restore นั้นจะไม่มีผลกับข้อมูลหรือไฟล์ในส่วนของยูสเซอร์ เช่น อีเมล, ไฟล์เอกสาร, ไฟล์รูปภาพ เป็นต้น (System Restore ไม่สามารถกู้คืนข้อมูลหรือไฟล์ในส่วนของยูสเซอร์ที่ถูกลบไปได้)
การสร้าง Restore Point
การสร้าง Restore Point มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิก Start คลิก All Programs คลิก Accessories คลิก System Tools แล้วคลิก System Restore
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Welcome to System Restore ให้คลิกเลือก Create a restore point เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 1 Create a restore point
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Create a restore point ให้ใส่คำอธิบายของ restore point ในช่องด้านล่าง Restore point description: เสร็จแล้วดลิก Create ระบบจะทำการสร้าง restore point ให้รอจนการทำงานแล้วเสร็จ
รูปที่ 2 Restore point description
4. เมื่อทำการสร้าง Restore point แล้วเสร็จ ระบบจะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Restore point created ซึ้งจะแจ้ง วัน เดือน ปี เวลา และชื่อของ Restore point ที่ทำการสร้างขึ้นใหม่ ให้คลิก Close เพื่อจบการสร้าง Restore point
รูปที่ 3 Restore point created
การ Restore System บน Windows XP
การสร้าง Restore ระบบ Windows XP มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิก Start คลิก All Programs คลิก Accessories คลิก System Tools แล้วคลิก System Restore
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Welcome to System Restore ให้คลิกเลือก Restore my computer to an earlier time เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 4 Restore my computer to an earlier time
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Select a restore point ให้คลิกเลือกวัน/เดือน/ปี และ restore point ที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 5 Select a restore point
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Confirm Restore Point Selection ให้คลิก Next
รูปที่ 6 Confirm Restore Point Selection
5. ระบบจะทำการรีสโตร์ระบบกลับไปยัง restore point ที่ต้องการ โดยหลังจากทำการรีสโตร์เสร็จจะทำการรีสตาร์ทระบบหนึ่งครั้ง เมื่อทำการรีสตาร์ทแล้วเสร็จ ยูสเซอร์สามารถใช้งานได้ตามปกติ โดยหลังจากยูสเซอร์ล็อกออนวินโดวส์จะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ดังรูปที่ 7 ให้คลิก OK เพื่อจบการทำรีสโตร์
รูปที่ 7 Restoration complete
Keywords: Windows XP System Restore
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
System Restore นั้นจะช่วยในการเรียกคืนระบบในกรณีที่วินโดวส์มีปัญหา โดยจะทำการรีสโตร์ ไฟล์ระบบ, โปรแกรมต่างๆ และการตั้งค่ารีจีสทรีของวินโดวส์ กลับไปยังจุดที่สร้างเก็บไว้ (ต้องเป็นจุดก่อนที่จะเกิดปัญหา) โดยการทำ System Restore นั้นจะไม่มีผลกับข้อมูลหรือไฟล์ในส่วนของยูสเซอร์ เช่น อีเมล, ไฟล์เอกสาร, ไฟล์รูปภาพ เป็นต้น (System Restore ไม่สามารถกู้คืนข้อมูลหรือไฟล์ในส่วนของยูสเซอร์ที่ถูกลบไปได้)
การสร้าง Restore Point
การสร้าง Restore Point มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิก Start คลิก All Programs คลิก Accessories คลิก System Tools แล้วคลิก System Restore
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Welcome to System Restore ให้คลิกเลือก Create a restore point เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 1 Create a restore point
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Create a restore point ให้ใส่คำอธิบายของ restore point ในช่องด้านล่าง Restore point description: เสร็จแล้วดลิก Create ระบบจะทำการสร้าง restore point ให้รอจนการทำงานแล้วเสร็จ
รูปที่ 2 Restore point description
4. เมื่อทำการสร้าง Restore point แล้วเสร็จ ระบบจะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Restore point created ซึ้งจะแจ้ง วัน เดือน ปี เวลา และชื่อของ Restore point ที่ทำการสร้างขึ้นใหม่ ให้คลิก Close เพื่อจบการสร้าง Restore point
รูปที่ 3 Restore point created
การ Restore System บน Windows XP
การสร้าง Restore ระบบ Windows XP มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิก Start คลิก All Programs คลิก Accessories คลิก System Tools แล้วคลิก System Restore
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Welcome to System Restore ให้คลิกเลือก Restore my computer to an earlier time เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 4 Restore my computer to an earlier time
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Select a restore point ให้คลิกเลือกวัน/เดือน/ปี และ restore point ที่ต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
รูปที่ 5 Select a restore point
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Confirm Restore Point Selection ให้คลิก Next
รูปที่ 6 Confirm Restore Point Selection
5. ระบบจะทำการรีสโตร์ระบบกลับไปยัง restore point ที่ต้องการ โดยหลังจากทำการรีสโตร์เสร็จจะทำการรีสตาร์ทระบบหนึ่งครั้ง เมื่อทำการรีสตาร์ทแล้วเสร็จ ยูสเซอร์สามารถใช้งานได้ตามปกติ โดยหลังจากยูสเซอร์ล็อกออนวินโดวส์จะแสดงหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ดังรูปที่ 7 ให้คลิก OK เพื่อจบการทำรีสโตร์
รูปที่ 7 Restoration complete
Keywords: Windows XP System Restore
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
การติดตั้ง Active Directory บน Windows Server 2003
Windows Server 2003 Server Roles
โดยทั่วไปนั้น หลังจากทำการติดตั้ง Windows Server 2003 การทำงานของเครื่องเซิร์ฟเวอร์จะเป็นแบบ Standalone server และเป็นสมาชิกของเวิร์กกรุ๊ป (Workgroup) โดยจะยังไม่ได้เป็นสมาชิกของโดเมน จากนั้นเมื่อทำการการติดตั้ง Active Directory เสร็จเรียบร้อย และมีการเพิ่มเครื่องเซิร์ฟเวอร์ Windows Server 2003 เข้าป็นสมาชิกของโดยเมน จะมีบทบาท 2 บทบาทที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะเป็นได้ คือ Member Server คือ เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นสมาชิกของโดเมน (Domain Member) และ เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ (Domain Controller)
โดยทั่วไปนั้น หลังจากทำการติดตั้ง Windows Server 2003 การทำงานของเครื่องเซิร์ฟเวอร์จะเป็นแบบ Standalone server และเป็นสมาชิกของเวิร์กกรุ๊ป (Workgroup) โดยจะยังไม่ได้เป็นสมาชิกของโดเมน จากนั้นเมื่อทำการการติดตั้ง Active Directory เสร็จเรียบร้อย และมีการเพิ่มเครื่องเซิร์ฟเวอร์ Windows Server 2003 เข้าป็นสมาชิกของโดยเมน จะมีบทบาท 2 บทบาทที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะเป็นได้ คือ Member Server คือ เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นสมาชิกของโดเมน (Domain Member) และ เซิร์ฟเวอร์ที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ (Domain Controller)
Firefox 2.0.0.13
แก้ไขล่าสุด: 18 เมษายน 2551
Firefox version: 2.0.0.13
Release Date: 25 มีนาคม 2551
mozillaZine News http://www.mozillazine.org/atom.xml
Firefox 2.0.0.13 New Features
Firefox ในเวอร์ชัน 2.0.0.13 นั้น Mozilla ได้ทำการปรับปรุงซีเคียวริตี้ต่างๆ และแก้ไขด้านเสถียรภาพการทำงานที่เป็นปัญหาใน Firefox เวอร์ชัน 2.0.0.12 สำหรับฟีเจอร์ต่างๆ ของ Firefox นั้น สามารถอ่านรายละเอียดได้จาก Firefox 2 New Features
Bugs fix
MFSA 2008-14 JavaScript privilege escalation and arbitrary code execution
MFSA 2008-15 Crashes with evidence of memory corruption (rv:1.8.1.13)
MFSA 2008-16 HTTP Referrer spoofing with malformed URLs
MFSA 2008-17 Privacy issue with SSL Client Authentication
MFSA 2008-18 Java socket connection to any local port via LiveConnect
MFSA 2008-19 XUL popup spoofing variant (cross-tab popups)
การติดตั้ง Firefox 2.0.0.13
สำหรับวิธีการติดตั้ง Firefox 2.0.0.13 นั้น เหมือนกันกับการติดตั้งเวอร์ชันก่อนๆ โดยแบ่งออกเป็น 2 แบบด้วยกัน ตามรายละเอียดดังนี้
แบบที่ 1
การอัพเดทจาก Firefox เวอร์ชันก่อนที่ติดตั้งอยู่แล้ว ถ้าหากตั้งค่า Advanced>Update>Automatically check for update to: Firefox เมื่อทำการเปิดใช้งาน Firefox และมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต Firefox ก็จะทำการตรวจสอบการอัพเดทโดยอัตโนมัติ (สามารถสั่งให้ Firefox ทำการตรวจสอบการอัพเดทแบบแมนนวล โดยการคลิกที่เมนู Help แล้วคลิก Check for Updates)
แบบที่ 2
การติดตั้ง Firefox 2.0.0.13 ใหม่ โดยสามารถอ่านรายละเอียดขั้นตอนและวิธีการติดตั้งได้จาก การติดตั้ง Firefox 2.0.x.x
การยกเลิกการติดตั้ง Firefox 2
การยกเลิกการติดตั้ง Firefox 2 สามารถทำได้จาก Add or Remove Programs ใน Control Panel โดยการยกเลิกการติดตั้ง Firefox 2 นั้น จะไม่ทำการลบข้อมูลต่างๆ คือ bookmarks, web browsing history และ extensions หรือ add-ons ต่างๆ ให้อัตโนมัติ ดังนั้นผู้ใช้ต้องทำการลบด้วยตนเอง ตามตำแหน่งดังนี้
Windows Vista = Users\UserName\AppData\Roaming\Mozilla\Firefox
Windows 2000, XP = Documents and Settings\UserName\Application Data\Mozilla\Firefox
Windows NT = WINNT\Profiles\UserName\Application Data\Mozilla\Firefox
Windows 98, ME = Windows\Application Data\Mozilla\Firefox
Mac OS X = ~/Library/Application Support/Firefox
Linux and Unix systems = ~/.mozilla/firefox
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
Firefox 2.0.0.13 Release Notes
การติดตั้ง Firefox 2.0.x.x
การกำหนดให้ลบข้อมูลส่วนตัวในอัตโนมัติใน Firefox
การตั้งค่า Block pop-up Windows ใน Firefox
Keywords: Mozilla Firefox 2.0.0.13
© 2007 Thai Windows Administrator Blog, All Rights Reserved.
Firefox version: 2.0.0.13
Release Date: 25 มีนาคม 2551
mozillaZine News http://www.mozillazine.org/atom.xml
Firefox 2.0.0.13 New Features
Firefox ในเวอร์ชัน 2.0.0.13 นั้น Mozilla ได้ทำการปรับปรุงซีเคียวริตี้ต่างๆ และแก้ไขด้านเสถียรภาพการทำงานที่เป็นปัญหาใน Firefox เวอร์ชัน 2.0.0.12 สำหรับฟีเจอร์ต่างๆ ของ Firefox นั้น สามารถอ่านรายละเอียดได้จาก Firefox 2 New Features
Bugs fix
MFSA 2008-14 JavaScript privilege escalation and arbitrary code execution
MFSA 2008-15 Crashes with evidence of memory corruption (rv:1.8.1.13)
MFSA 2008-16 HTTP Referrer spoofing with malformed URLs
MFSA 2008-17 Privacy issue with SSL Client Authentication
MFSA 2008-18 Java socket connection to any local port via LiveConnect
MFSA 2008-19 XUL popup spoofing variant (cross-tab popups)
การติดตั้ง Firefox 2.0.0.13
สำหรับวิธีการติดตั้ง Firefox 2.0.0.13 นั้น เหมือนกันกับการติดตั้งเวอร์ชันก่อนๆ โดยแบ่งออกเป็น 2 แบบด้วยกัน ตามรายละเอียดดังนี้
แบบที่ 1
การอัพเดทจาก Firefox เวอร์ชันก่อนที่ติดตั้งอยู่แล้ว ถ้าหากตั้งค่า Advanced>Update>Automatically check for update to: Firefox เมื่อทำการเปิดใช้งาน Firefox และมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต Firefox ก็จะทำการตรวจสอบการอัพเดทโดยอัตโนมัติ (สามารถสั่งให้ Firefox ทำการตรวจสอบการอัพเดทแบบแมนนวล โดยการคลิกที่เมนู Help แล้วคลิก Check for Updates)
แบบที่ 2
การติดตั้ง Firefox 2.0.0.13 ใหม่ โดยสามารถอ่านรายละเอียดขั้นตอนและวิธีการติดตั้งได้จาก การติดตั้ง Firefox 2.0.x.x
การยกเลิกการติดตั้ง Firefox 2
การยกเลิกการติดตั้ง Firefox 2 สามารถทำได้จาก Add or Remove Programs ใน Control Panel โดยการยกเลิกการติดตั้ง Firefox 2 นั้น จะไม่ทำการลบข้อมูลต่างๆ คือ bookmarks, web browsing history และ extensions หรือ add-ons ต่างๆ ให้อัตโนมัติ ดังนั้นผู้ใช้ต้องทำการลบด้วยตนเอง ตามตำแหน่งดังนี้
Windows Vista = Users\UserName\AppData\Roaming\Mozilla\Firefox
Windows 2000, XP = Documents and Settings\UserName\Application Data\Mozilla\Firefox
Windows NT = WINNT\Profiles\UserName\Application Data\Mozilla\Firefox
Windows 98, ME = Windows\Application Data\Mozilla\Firefox
Mac OS X = ~/Library/Application Support/Firefox
Linux and Unix systems = ~/.mozilla/firefox
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
Firefox 2.0.0.13 Release Notes
การติดตั้ง Firefox 2.0.x.x
การกำหนดให้ลบข้อมูลส่วนตัวในอัตโนมัติใน Firefox
การตั้งค่า Block pop-up Windows ใน Firefox
Keywords: Mozilla Firefox 2.0.0.13
© 2007 Thai Windows Administrator Blog, All Rights Reserved.
Sysinternals Suite Build 20080310
Sysinternals Suite Build 20080310
Sysinternals Suite นั้น เป็นการรวบรวมเครื่องมือหลายๆ ตัว ที่พัฒนาโดย Sysinternals นำมารวมเป็นชุดเดียวเพื่อให้ง่ายในการดาวน์โหลดไปใช้งาน โดยเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2551 ที่ผ่านมา ทาง Sysinternals ก็ได้ออกอัพเดทเวอร์ชันใหม่ล่าสุดของชุดเครื่องมือ Sysinternals Suite ซึ่งในเวอร์ชันล่าสุดนี้ ได้รวมเอาเครื่องมือต่างๆ จำนวน 61 ตัว ด้วยกัน มีโปรแกรมเครื่องมือที่อัพเดทเป็นเวอร์ชันใหม่ จำนวน 1 ตัว คือ ZoomIT v1.8 สำหรับรายชื่อของโปรแกรมเครื่องมือทั้งหมดนั้น มีรายละเอียดตามลิสต์ด้านล่าง
สำหรับผู้ที่สนใจสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม และดาวน์โหลดมาทดลองใช้งานได้จากเว็บไซต์ (ไฟล์มีขนาดประมาณ 8MB) Sysinternals Suite
เครื่องมือใน Sysinternals Suite
ในชุดเครื่องมือ Sysinternals Suite นั้น ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ จำนวน 61 ตัว ดังนี้
1. AccessChk v4.02 (9/4/2007)
2. AccessEnum v1.32 (11/1/2006)
3. AdExplorer v1.01 (11/5/2007)
4. AdRestore v1.1 (11/1/2006)
5. Autologon v2.10 (11/1/2006)
6. Autoruns v9.13 (8/20/2007)
7. BgInfo v4.12 (11/5/2007)
8. CacheSet v1.0 (11/1/2006)
9. ClockRes v1.0 (11/1/2006)
10. Contig v1.54 (3/21/2007)
11. Ctrl2Cap v2.0 (11/1/2006)
12. DebugView v4.74 (11/27/2007)
13. DiskExt 1.1 (5/14/2007)
14. Diskmon v2.01 (11/1/2006)
15. DiskView v2.21 (11/1/2006)
16. DU v1.31 (11/1/2006)
17. EFSDump v1.02 (11/1/2006)
18. Filemon v7.04 (11/1/2006)
19. Handle v3.30 (10/15/2007)
20. Hex2dec v1.0 (11/1/2006)
21. Junction v1.05 (7/24/2007)
22. LdmDump v1.02 (11/1/2006)
23. ListDlls v2.25 (11/1/2006)
24. LiveKd v3.0 (11/1/2006)
25. LoadOrder v1.0 (11/1/2006)
26. LogonSessions v1.1 (11/1/2006)
27. NewSid v4.10 (11/1/2006)
28. NtfsInfo v1.0 (11/1/2006)
29. PageDefrag v2.32 (11/1/2006)
30. PendMoves v1.1 (11/1/2006)
31. Portmon v3.02 (11/1/2006)
32. ProcessExplorer v11.10 (26/2/2008)
33. ProcessMonitor v1.26 (11/5/2007)
34. ProcFeatures v1.10 (11/1/2006)
35. PsExec v1.92 (11/27/2007)
36. PsFile v1.02 (12/4/2006)
37. PsGetSid v1.43 (12/4/2006)
38. PsInfo v1.75 (7/9/2007)
39. PsKill v1.12 (12/4/2006)
40. PsList v1.28 (12/4/2006)
41. PsLoggedOn v1.33 (12/4/2006)
42. PsLogList v2.64 (12/4/2006)
43. PsPasswd v1.22 (12/4/2006)
44. PsService v2.21 (12/4/2006)
45. PsShutdown v2.52 (12/4/2006)
46. PsSuspend v1.06 (12/4/2006)
47. RegDelNull v1.10 (11/1/2006)
48. RegJump v1.01 (11/1/2006)
49. RegMon v7.04 (11/1/2006)
50. RootkitRevealer v1.71 (11/1/2006)
51. SDelete v1.51 (11/1/2006)
52. ShareEnum v1.6 (11/1/2006)
53. SigCheck v1.52 (26/2/2008)
54. Streams v1.56 (4/27/2007)
55. Strings v2.40 (4/24/2007)
56. Sync v2.0 (11/1/2006)
57. TcpView v2.51 (8/16/2007)
58. VolumeId v2.0 (11/1/2006)
59. WhoIs v1.01 (11/1/2006)
60. WinObj v2.15 (11/1/2006)
61. ZoomIt v1.8 (03/10/2007) New!
Sysinternals ZoomIt v1.8
ZoomIt เป็นโปรแกรมสำหรับใช้ในการนำเสนองานทางด้านเทคนิคต่างๆ โดยสามารถทำการ Zoom หน้าจอ การวาดภาพบนหน้าจอ และยังสามารถใช้จับเวลาได้อีกด้วย (สูงสุด 99 นาที)โดยในเวอร์ชัน 1.8 นี้ ได้ปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
สำหรับผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดมาทดลองใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยทำการดาวน์โหลดพร้อมชุด Sysinternals Suite หรือดาวน์โหลดแบบเดี่ยวๆ ได้จาก Sysinternal's ZoomIt
การใช้งาน
โปรแกรม ZoomIt สามารถทำการใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องติดตั้ง เมื่อทำการดาวนโหลดเสร็จแล้วให้แตกไฟล์ ซึ่งจะได้ไฟล์ eula.txt และ ZoomIt.exe จากนั้นทำการรันโปรแกรมโดยการดับเบิลคลิกไฟล์ ZoomIt.exe วินโดวส์จะแจ้ง Security Warning ให้คลิก Run โปรแกรมก็จะโหลดไปอยู่ใน Notification Area ของ Taskbar โดยค่าคีย์เริ่มต้นนั้นคือ Zoom = Ctrl+1 , Draw = Ctrl+2 และ Break = Ctrl+3 โดยค่าเริ่มต้นนั้น การวาดรูปแบบสี่เหลี่ยมก็ทำได้โดยกดคีย์ Ctrl แล้วลากเม้าส์ หรือหากต้องการวาดรูปวงกลมก็ทำได้โดยกดคีย์ Tab แล้วลากเม้าส์ เป็นต้น
สำหรับท่านที่ต้องการกำหนดคีย์ลัดเอง ก็สามารถทำได้โดยการใช้เม้าส์คลิกที่ไอคอนที่ใน Notification Area ของ Taskbar แล้วเลือก Option จากนั้นเลือกคีย์ตามความต้องการ
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
• อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Sysinternals Suite Sysinternals Suite
• ดาวน์โหลด Sysinternals Suite Sysinternals Suite
• เว็บไซต์ Windows Sysinternals Windows Sysinternals
digg.com del.icio.us
Keywords: Sysinternals Suite
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
Sysinternals Suite นั้น เป็นการรวบรวมเครื่องมือหลายๆ ตัว ที่พัฒนาโดย Sysinternals นำมารวมเป็นชุดเดียวเพื่อให้ง่ายในการดาวน์โหลดไปใช้งาน โดยเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2551 ที่ผ่านมา ทาง Sysinternals ก็ได้ออกอัพเดทเวอร์ชันใหม่ล่าสุดของชุดเครื่องมือ Sysinternals Suite ซึ่งในเวอร์ชันล่าสุดนี้ ได้รวมเอาเครื่องมือต่างๆ จำนวน 61 ตัว ด้วยกัน มีโปรแกรมเครื่องมือที่อัพเดทเป็นเวอร์ชันใหม่ จำนวน 1 ตัว คือ ZoomIT v1.8 สำหรับรายชื่อของโปรแกรมเครื่องมือทั้งหมดนั้น มีรายละเอียดตามลิสต์ด้านล่าง
สำหรับผู้ที่สนใจสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม และดาวน์โหลดมาทดลองใช้งานได้จากเว็บไซต์ (ไฟล์มีขนาดประมาณ 8MB) Sysinternals Suite
เครื่องมือใน Sysinternals Suite
ในชุดเครื่องมือ Sysinternals Suite นั้น ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ จำนวน 61 ตัว ดังนี้
1. AccessChk v4.02 (9/4/2007)
2. AccessEnum v1.32 (11/1/2006)
3. AdExplorer v1.01 (11/5/2007)
4. AdRestore v1.1 (11/1/2006)
5. Autologon v2.10 (11/1/2006)
6. Autoruns v9.13 (8/20/2007)
7. BgInfo v4.12 (11/5/2007)
8. CacheSet v1.0 (11/1/2006)
9. ClockRes v1.0 (11/1/2006)
10. Contig v1.54 (3/21/2007)
11. Ctrl2Cap v2.0 (11/1/2006)
12. DebugView v4.74 (11/27/2007)
13. DiskExt 1.1 (5/14/2007)
14. Diskmon v2.01 (11/1/2006)
15. DiskView v2.21 (11/1/2006)
16. DU v1.31 (11/1/2006)
17. EFSDump v1.02 (11/1/2006)
18. Filemon v7.04 (11/1/2006)
19. Handle v3.30 (10/15/2007)
20. Hex2dec v1.0 (11/1/2006)
21. Junction v1.05 (7/24/2007)
22. LdmDump v1.02 (11/1/2006)
23. ListDlls v2.25 (11/1/2006)
24. LiveKd v3.0 (11/1/2006)
25. LoadOrder v1.0 (11/1/2006)
26. LogonSessions v1.1 (11/1/2006)
27. NewSid v4.10 (11/1/2006)
28. NtfsInfo v1.0 (11/1/2006)
29. PageDefrag v2.32 (11/1/2006)
30. PendMoves v1.1 (11/1/2006)
31. Portmon v3.02 (11/1/2006)
32. ProcessExplorer v11.10 (26/2/2008)
33. ProcessMonitor v1.26 (11/5/2007)
34. ProcFeatures v1.10 (11/1/2006)
35. PsExec v1.92 (11/27/2007)
36. PsFile v1.02 (12/4/2006)
37. PsGetSid v1.43 (12/4/2006)
38. PsInfo v1.75 (7/9/2007)
39. PsKill v1.12 (12/4/2006)
40. PsList v1.28 (12/4/2006)
41. PsLoggedOn v1.33 (12/4/2006)
42. PsLogList v2.64 (12/4/2006)
43. PsPasswd v1.22 (12/4/2006)
44. PsService v2.21 (12/4/2006)
45. PsShutdown v2.52 (12/4/2006)
46. PsSuspend v1.06 (12/4/2006)
47. RegDelNull v1.10 (11/1/2006)
48. RegJump v1.01 (11/1/2006)
49. RegMon v7.04 (11/1/2006)
50. RootkitRevealer v1.71 (11/1/2006)
51. SDelete v1.51 (11/1/2006)
52. ShareEnum v1.6 (11/1/2006)
53. SigCheck v1.52 (26/2/2008)
54. Streams v1.56 (4/27/2007)
55. Strings v2.40 (4/24/2007)
56. Sync v2.0 (11/1/2006)
57. TcpView v2.51 (8/16/2007)
58. VolumeId v2.0 (11/1/2006)
59. WhoIs v1.01 (11/1/2006)
60. WinObj v2.15 (11/1/2006)
61. ZoomIt v1.8 (03/10/2007) New!
Sysinternals ZoomIt v1.8
ZoomIt เป็นโปรแกรมสำหรับใช้ในการนำเสนองานทางด้านเทคนิคต่างๆ โดยสามารถทำการ Zoom หน้าจอ การวาดภาพบนหน้าจอ และยังสามารถใช้จับเวลาได้อีกด้วย (สูงสุด 99 นาที)โดยในเวอร์ชัน 1.8 นี้ ได้ปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
สำหรับผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดมาทดลองใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยทำการดาวน์โหลดพร้อมชุด Sysinternals Suite หรือดาวน์โหลดแบบเดี่ยวๆ ได้จาก Sysinternal's ZoomIt
การใช้งาน
โปรแกรม ZoomIt สามารถทำการใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องติดตั้ง เมื่อทำการดาวนโหลดเสร็จแล้วให้แตกไฟล์ ซึ่งจะได้ไฟล์ eula.txt และ ZoomIt.exe จากนั้นทำการรันโปรแกรมโดยการดับเบิลคลิกไฟล์ ZoomIt.exe วินโดวส์จะแจ้ง Security Warning ให้คลิก Run โปรแกรมก็จะโหลดไปอยู่ใน Notification Area ของ Taskbar โดยค่าคีย์เริ่มต้นนั้นคือ Zoom = Ctrl+1 , Draw = Ctrl+2 และ Break = Ctrl+3 โดยค่าเริ่มต้นนั้น การวาดรูปแบบสี่เหลี่ยมก็ทำได้โดยกดคีย์ Ctrl แล้วลากเม้าส์ หรือหากต้องการวาดรูปวงกลมก็ทำได้โดยกดคีย์ Tab แล้วลากเม้าส์ เป็นต้น
สำหรับท่านที่ต้องการกำหนดคีย์ลัดเอง ก็สามารถทำได้โดยการใช้เม้าส์คลิกที่ไอคอนที่ใน Notification Area ของ Taskbar แล้วเลือก Option จากนั้นเลือกคีย์ตามความต้องการ
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
• อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม Sysinternals Suite Sysinternals Suite
• ดาวน์โหลด Sysinternals Suite Sysinternals Suite
• เว็บไซต์ Windows Sysinternals Windows Sysinternals
digg.com del.icio.us
Keywords: Sysinternals Suite
© 2008 dtplertkrai. All Rights Reserved
Tuesday, March 25, 2008
Windows Server 2003 Active Directory
Active Directory (AD)
Active Directory ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ object ต่างๆ เช่น ยูสเซอร์ (User) กลุ่ม (Group) คอมพิวเตอร์ (Computer) หรือ นโยบายรักษาความปลอดภัย (Security Policy) เป็นต้น โดย Active Directory นั้นจะเก็บ object ต่างๆ เหล่านี้ไว้ใน Active Directory Database และมีเซิร์ฟเวอร์ที่ทำหน้าที่เป็น Domain Controller (DC) เป็นตัวจัดการอีกทีหนึ่ง
ส่วนประกอบของ Active Directory
Active Directory นั้น จะมีส่วนประกอบอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน คือ
1. Active Directory Service ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่ทำหน้าที่ให้บริการแก่ยูสเซอร์และผู้บริหารระบบ
2. Active Directory Database เป็นฐานข้อมูลสำหรับใช้ในการเก็บ Directory Object ต่างๆ เช่น User Account, Group Account, Shared Folder, Organizational Unit (OU), System Configuration, Group Policy Object (GPO) เป็นต้น
โครงสร้างของ Active Directory
การใช้งาน Windows Server 2003 เป็น Domain Controller (DC) ในสภาพแวดล้อมแบบ Domain นั้น โดยจะไม่มี บทบาท (Role) แบบ Primary Domain Controller (PDC) หรือ Backup Domain Controller (BDC) แต่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทุกๆ ตัวรับบทบาทเป็น Domain Controller (DC) ซึ่งระดับการทำงานเท่ากัน นั้นคือ DC แต่ละเครื่องสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลของ Active Directory ได้ และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่เครื่อง DC เครื่องใดเครื่องหนึ่ง Active Directory ก็จะทำการถ่ายโอน (Replication) ฐานข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงนั้น ไปยัง DC อื่นๆ ทุกตัว ทั้งนี้เพื่อให้ DC ทุกตัวมีฐานข้อมูลที่ทันสมัยเสมอ ทั้งนี้ในแต่ละ Domain นั้นสามารถมีเซิร์ฟเวอร์ที่มีบทบาทเป็น DC ได้หลายเครื่อง
โดเมน (Domain)
โดเมน (Domain) นั้นคงเป็นที่คุ้นเคยกันดีการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต เช่น โดเมน .co.th, .ac.th, .net, .com เป็นต้น ซึ่งโดเมนที่กล่าวมานั้นจะเป็นโดเมนในรูปแบบของ Domain Naming Service (DNS) ซึ่งให้บริการโดย Domain Naming Service Server (DNS Server) โดยความหมายของโดเมนในระบบ DNS นั้น จะหมายถึง tree หรือ sub-tree ที่อยู่ภายใน DNS namespace เดียวกัน ตัวอย่างเช่น ftp.abc.com และ mail.abc.com จะอยู่ในโดเมนเดียวกันคือ abc.com เป็นต้น
สำหรับใน Active Directory นั้น โดเมน (Domain) จะมีหมายถึง กลุ่มของทรัพยากรต่างๆ (Resources) เช่น Computer, User, Group, Shared Folder, Printer ที่อยู่ภายใต้ Directory Database เดียวกัน มี Security Policy เดียวกัน และมีความสัมพันธ์ด้าน Security กับ Domain อื่นๆ แต่ เช่น xyz.com เป็นต้น
Domain Controller
Domain Controller (DC) คือ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ Windows Server 2003 ที่ทำหน้าที่เก็บรักษา Active Directory database ให้บริการและดูแลการให้บริการของ Active Directory Service จัดการการสื่อสารระหว่าง User กับ Domain ให้การบริการและตรวจสอบการ Logon (Authentication) เข้า Domain ของเครื่องลูกข่าย (Client) และ ยูสเซอร์ (User) โดยในแต่ละ Domain นั้น จะต้องมีเซิร์ฟเวอร์ที่มีบทบาทเป็น DC อย่างน้อย 1 เครื่อง
Root Domain
Root Domain คือ โดเมน (Domain) แรกที่ทำการสร้างขึ้นในสภาพแวดล้อมแบบ Active Directory ตัวอย่างเช่น xyz.com หรือ เป็นต้น โดยมีข้อสังเกตคือ Root Domain นั้น จะไม่มีโดเมนอื่นอยู่ระดับที่สูงกว่า
Child Domain
Child Domain คือโดเมน (Domain) ย่อยที่สร้างอยู่ภายใต้ Root Domain อีกทีหนึ่ง
Domain Tree
Domain Tree คือ โครงสร้างโดเมน (Domain) ที่เกิดจากการรวมกันของ Root Domain และ Child Domain เป็นการจัดเรียงตามลำดับชั้น คล้ายกับระบบชื่อใน DNS
Domain Forest
Domain Forest คือ โครงสร้างของโดเมน (Domain) ที่เกิดจากการรวมกันของ Domain Tree ตั้งแต่สองโดเมน (Domain) ขึ้นไป โดยแต่ละ โดเมน (Domain) จะมีการเชื่อมโยงกันผ่านทาง Trust Relationship แบบสองทาง (2 way trust)
Class
Class คือตัวแบ่งประเภทของ Object
Object
Object ชื่อของทรัพยากรต่างๆ ที่ใน Active Directory เช่น User, Computer, Printer, Shared Folder เป็นต้น
Attributes
Attributes เป็นค่าที่ใช้บอกคุณลักษณะของ Object เช่น password และ username เป็น attribute ของ object user โดย Object ที่อยู่ใน Class เดียวกันจะมี attribute เหมือนกัน
Schema
Schema เป็นข้อกำหนดต่างๆ ที่กำหนดว่า object แต่ละประเภทจะมี attribute อะไรบ้าง เช่น object ประเภท user มี attribute คือ password, email เป็นต้น
Containers
Containers คล้ายกับโฟลเดอร์ (Folder) โดยจะใช้เก็บ containers และ objects ต่างๆ ไว้ภายใน โดย container ใน Active Directory จะมีอยู่ 3 ประเภท คือ 1. Domains, 2.Sites, 3. Organizational Units (OU)
Site
Site คือ เครือข่ายย่อย ที่การเชื่อมต่อมีความน่าเชื่อถือสูง มีความเร็วสูงและเชื่อมต่อถึงกันตลอดเวลา
Organizational Units (OU)
Organizational Units (OU) เป็น container ที่สามารถใช้เก็บ Object ต่างๆ ของโดเมน (Domain) ที่ตัวมันอยู่ เช่น Computer, User, Printer หรือ OU ย่อยก็ได้ แต่ไม่สามารถใส่ object จาก domain อื่นได้
Domain User Computer and Group
User Account
User Account คือ object ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ของ User คือ user name, password, member ซึ่งถ้าเป็น Domain User Account นั้นจะเก็บและจัดการโดย Active Directory โดยจะเก็บอยู่ในฐานข้อมูลของโดเมนในไฟล์ชื่อ NTDS.DIT ซึ่งไฟล์นี้จะถูกจัดเก็บอยู่ในโดเมนคอนโทรลเลอร์ทุกตัวของโดเมน
สำหรับ Local User Account เช่น User Account ของ Member Server หรือ Client Computer แต่ละตัวนั้น ก็จะเก็บและจัดการแบบ Local โดย Member Server หรือ Client Computer ที่ User Account นั้นอยู่ในระบบ โดยจะเก็บในเครื่องใครเครื่องมันอยู่ในฐานข้อมูลของระบบวินโดวส์ในไฟล์ชื่อ SAM (Security Account Manager) ซึ่งไฟล์นี้จะถูกจัดเก็บอยู่ในโฟลเดอร์ %System root%\Windows\System30\config\
การจัดการ User Account นั้น ถ้าเป็น Domain User Account จะใช้เครื่องมือที่ชื่อ Active Directory Users and Computers แต่ถ้าเป็น Local User Account จะใช้เครื่องมือที่ชื่อ Computers Management
Computer Account
Computer Account คือ object ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสมาชิกของโดเมน โดยหลังจากทำการเพิ่ม (Join) เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าเป็นสมาชิกของโดเมน (Domain) แล้ว คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องก็จะได้รับ Account เพื่อใช้ในการระบุตัวตนของเครื่องนั้นๆ โดยที่ Account ที่ได้นั้นจะเป็นชื่อเดียวกันกับชื่อเครื่อง (Computer name) และต้องไม่ซ้ำกับเครื่องอื่น โดย Computer Account จะเก็บและจัดการโดย Active Directory แบบเดียวกันกับ User Account
คุณสมบัติต่างๆ ของ Computer accounts จะมีลักษณะเหมือนกันกับ User account คือ สามารถ add, disable, reset และ delete ได้โดยใช้เครื่องมือที่ชื่อ Active Directory Users and Computers
Group
Group คือ Object ที่สามารถมีสมาชิกเป็น ยูสเซอร์ (Users) เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) หรือกลุ่ม (Groups) อื่นๆ โดย Group นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การการกำหนดสิทธิ์ (Right) ให้แก่ยูสเซอร์และ การรับ-ส่ง email ทำได้สะดวกขึ้น โดยในสภาพแวดล้อมแบบ Domain นั้น จะ Group อยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ Distribution Group และ Security Group
Group type มีอยู่ 2 ประเภท ด้วยกันคือ
- Distribution Group เป็นกลุ่ม (Group) ที่ใช้ได้เฉพาะกับ email application เพื่อใช้สำหรับการรับ-ส่ง email เท่านั้น
- Security Group เป็นกลุ่ม (Group) ที่ใช้สำหรับการกำหนดสิทธิ์ (Right) ในการกระทำต่างให้กับกลุ่ม (Group) และใช้สำหรับการกำหนด Permission ในการใช้งาน Shared Resources ต่างๆ
Tips:
ประเภทของกรุ๊ป หรือ Group type นั้น สามารถทำการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าหากว่า domain functional level เป็นแบบ Windows 2000 native หรือสูงกว่า
Group Scope
Group Scope คือ ขอบเขตของกลุ่ม ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ ด้วยกันคือ Universal Group, Global Group และ Domain local Group โดยค่าดีฟอลท์ (Default) สำหรับการสร้าง New Group ขึ้นมานั้น จะกำหนดให้เป็นกลุ่มแบบ Security Group - Global Scope โดยที่ Group Scope นั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าหากว่า domain functional level เป็นแบบ Windows 2000 native หรือสูงกว่า
คุณลักษณะของ Group Scope
- สมาชิกของกลุ่ม Universal Group นั้น สามารถเป็น กลุ่ม (Group) อื่นๆ และ account จากโดเมน (Domain) ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนทรี (Domain Tree) หรือ ฟอเรสต์ (Forest) สามารถใช้ Universal Group ในการกำหนด Permission ในโดเมน (Domain) ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนทรี (Domain Tree) หรือฟอเรสต์ (Forest)
- สมาชิกกลุ่ม Global Group สามารถเป็นกลุ่ม (Group) อื่นๆ และ account เฉพาะจากโดเมน (Domain) ที่ Global Group นั้นอยู่ สามารถใช้ Global Group ในการกำหนด Permission ในโดเมน (Domain) ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนทรี (Domain Tree) หรือ ฟอเรสต์ (Forest)
- สมาชิกกลุ่ม Domain local Group สามารถเป็นกลุ่ม (Group) อื่นๆ และ account จาก Windows Server 2003, Windows 2000 สามารถใช้ Domain local Group ในการกำหนด Permission เฉพาะในโดเมน (Domain) เท่านั้น
ข้อกำหนดในการเปลี่ยน Group Scope
ในการเปลี่ยนแปลง Group Scope นั้น มีข้อกำหนดดังต่อไปนี้
- Global to universal จะทำได้ถ้ากลุ่ม (Group) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นไม่ได้เป็นสมาชิกของ global scope group อื่นๆ
- Domain local to universal จะทำได้ถ้ากลุ่ม (Group) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นไม่มี domain local group อื่นเป็นสมาชิก
- Universal to global จะทำได้ถ้ากลุ่ม (Group) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นไม่มี universal group อื่นเป็นสมาชิก
- Universal to domain local ทำการเปลี่ยนได้โดยไม่มีข้อจำกัด
หมายเหตุ:
สำหรับ Stand-alone server หรือ Client computer นั้นจะ มีเฉพาะ Local Group เท่านั้น และสามารถใช้กำหนดPermission ให้กับกลุ่มได้เฉพาะบนเครื่องๆ นั้นเท่านั้น
การรีพลิเคต (Replication)
การรีพลิเคต หรือ Replication คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนและอัพเดทฐานข้อมูลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดเมนคอนโทรลเลอร์ (Domain Controller) ของโดเมน เพื่อให้ฐานข้อมูลบนโดเมนคอนโทรลเลอร์ทุกตัวเหมือนกันและเป็นปัจจุบัน (Up to date) โดยค่าดีฟอลท์นั้น จะมีการรีพลิเคต xx นาที และสามารถทำการรีพลิเคตแบบแมนนวลได้โดยการเปิด xx
โหมดการทำงานของ Active Directory
ในระบบโดเมน (Domain) ของ Active Directory นั้น จะมีโหมดหรือข้อกำหนดในการทำงาน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่เป็น โดเมนคอนโทรลเลอร์ (DC), เซิร์ฟเวอร์สมาชิก (Member Server) และ ไคลเอนต์คอมพิวเตอร์ (Client Computer)
โหมดการทำงานของ Active Directory ใน Windows 2000 Server
ในระบบ Active Directory ของ Windows 2000 Server นั้นจะมีโหมดการทำงานอยู่ 2 โหมด คือ
1.Mixed Mode เป็น Active Directory Domain ที่สามารถสื่อสารกับ BCD ของ Windows NT4.0 ได้ ใช้ในกรณีต้องการ Upgrade ระบบ Windows NT4.0 และสามารถรองรับลูกข่ายที่เป็น Windows 95/98
2.Native Mode เป็น Active Directory Domain ที่สามารถสื่อสารได้เฉพาะ Windows 2000 Sever เท่านั้น โดยมีข้อดีคือ มีระบบความปลอดภัยสูงขึ้น สามารถทำกลุ่มซ้อนกลุ่มได้ (Group Nesting)
การทำงานของ Active Directory ใน Windows Server 2003
สำหรับในระบบ Active Directory ของ Windows Server 2003 นั้นโหมดการทำงานจะมี 2 ประเภท คือ Domain Functionality และ Forest Functionality
Domain Functionality
Domain Functionality เป็นโหมดการทำงานที่มีผลครอบคลุมเฉพาะภายใน Domain นั้นๆ ซึ่งค่า Domain Functionality นั้นจะเป็นตัวกำหนดว่าในโดเมนนั้นสามารถมีระบบปฏิบัติการใดทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ (DC) ได้บ้าง โดยค่าดีฟอลท์ของ Domain Functionality จะเป็นแบบ Windows 2000 Mixed, โดยที่ Domain Functionality จะมีโหมดการทำงานอยู่ 4 โหมด ดังนี้
1. Windows 2000 Mixed - DC = WindowsNT4.0, Windows2000, Windows Server 2003
2. Windows 2000 Native - DC = Windows2000, Windows Server 2003
3. Windows Server 2003 Interim - DC = WindowsNT4.0, Windows Server 2003
4. Windows Server 2003 - DC = Windows Server 2003
Forest Functionality
Forest Functionality เป็นโหมดการทำงานที่มีผลครอบคลุมทุก Domain ที่อยู่ภายใน Forest นั้นๆ ซึ่ง Forest Functionality นั้นจะเป็นตัวกำหนดว่าในฟอเรสต์นั้นสามารถมีระบบปฏิบัติการใดทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ (DC) ได้บ้าง โดยค่าดีฟอลท์ของ Forest Functionality เป็น Windows 2000, โดยที่ Forest Functionality จะมีโหมดการทำงานอยู่ 3 โหมด ดังนี้
1. Windows 2000 (Default) - DC = WindowsNT4.0, Windows2000, Windows Server 2003
2. Windows Server 2003 Interim - DC = WindowsNT4.0, Windows Server 2003
3. Windows Server 2003 - DC = Windows Server 2003
Keywords: Windows Server 2003 Active Directory AD
© 2008 All Rights Reserved.
Active Directory ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ object ต่างๆ เช่น ยูสเซอร์ (User) กลุ่ม (Group) คอมพิวเตอร์ (Computer) หรือ นโยบายรักษาความปลอดภัย (Security Policy) เป็นต้น โดย Active Directory นั้นจะเก็บ object ต่างๆ เหล่านี้ไว้ใน Active Directory Database และมีเซิร์ฟเวอร์ที่ทำหน้าที่เป็น Domain Controller (DC) เป็นตัวจัดการอีกทีหนึ่ง
ส่วนประกอบของ Active Directory
Active Directory นั้น จะมีส่วนประกอบอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน คือ
1. Active Directory Service ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่ทำหน้าที่ให้บริการแก่ยูสเซอร์และผู้บริหารระบบ
2. Active Directory Database เป็นฐานข้อมูลสำหรับใช้ในการเก็บ Directory Object ต่างๆ เช่น User Account, Group Account, Shared Folder, Organizational Unit (OU), System Configuration, Group Policy Object (GPO) เป็นต้น
โครงสร้างของ Active Directory
การใช้งาน Windows Server 2003 เป็น Domain Controller (DC) ในสภาพแวดล้อมแบบ Domain นั้น โดยจะไม่มี บทบาท (Role) แบบ Primary Domain Controller (PDC) หรือ Backup Domain Controller (BDC) แต่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทุกๆ ตัวรับบทบาทเป็น Domain Controller (DC) ซึ่งระดับการทำงานเท่ากัน นั้นคือ DC แต่ละเครื่องสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลของ Active Directory ได้ และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่เครื่อง DC เครื่องใดเครื่องหนึ่ง Active Directory ก็จะทำการถ่ายโอน (Replication) ฐานข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงนั้น ไปยัง DC อื่นๆ ทุกตัว ทั้งนี้เพื่อให้ DC ทุกตัวมีฐานข้อมูลที่ทันสมัยเสมอ ทั้งนี้ในแต่ละ Domain นั้นสามารถมีเซิร์ฟเวอร์ที่มีบทบาทเป็น DC ได้หลายเครื่อง
โดเมน (Domain)
โดเมน (Domain) นั้นคงเป็นที่คุ้นเคยกันดีการใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต เช่น โดเมน .co.th, .ac.th, .net, .com เป็นต้น ซึ่งโดเมนที่กล่าวมานั้นจะเป็นโดเมนในรูปแบบของ Domain Naming Service (DNS) ซึ่งให้บริการโดย Domain Naming Service Server (DNS Server) โดยความหมายของโดเมนในระบบ DNS นั้น จะหมายถึง tree หรือ sub-tree ที่อยู่ภายใน DNS namespace เดียวกัน ตัวอย่างเช่น ftp.abc.com และ mail.abc.com จะอยู่ในโดเมนเดียวกันคือ abc.com เป็นต้น
สำหรับใน Active Directory นั้น โดเมน (Domain) จะมีหมายถึง กลุ่มของทรัพยากรต่างๆ (Resources) เช่น Computer, User, Group, Shared Folder, Printer ที่อยู่ภายใต้ Directory Database เดียวกัน มี Security Policy เดียวกัน และมีความสัมพันธ์ด้าน Security กับ Domain อื่นๆ แต่ เช่น xyz.com เป็นต้น
Domain Controller
Domain Controller (DC) คือ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ Windows Server 2003 ที่ทำหน้าที่เก็บรักษา Active Directory database ให้บริการและดูแลการให้บริการของ Active Directory Service จัดการการสื่อสารระหว่าง User กับ Domain ให้การบริการและตรวจสอบการ Logon (Authentication) เข้า Domain ของเครื่องลูกข่าย (Client) และ ยูสเซอร์ (User) โดยในแต่ละ Domain นั้น จะต้องมีเซิร์ฟเวอร์ที่มีบทบาทเป็น DC อย่างน้อย 1 เครื่อง
Root Domain
Root Domain คือ โดเมน (Domain) แรกที่ทำการสร้างขึ้นในสภาพแวดล้อมแบบ Active Directory ตัวอย่างเช่น xyz.com หรือ เป็นต้น โดยมีข้อสังเกตคือ Root Domain นั้น จะไม่มีโดเมนอื่นอยู่ระดับที่สูงกว่า
Child Domain
Child Domain คือโดเมน (Domain) ย่อยที่สร้างอยู่ภายใต้ Root Domain อีกทีหนึ่ง
Domain Tree
Domain Tree คือ โครงสร้างโดเมน (Domain) ที่เกิดจากการรวมกันของ Root Domain และ Child Domain เป็นการจัดเรียงตามลำดับชั้น คล้ายกับระบบชื่อใน DNS
Domain Forest
Domain Forest คือ โครงสร้างของโดเมน (Domain) ที่เกิดจากการรวมกันของ Domain Tree ตั้งแต่สองโดเมน (Domain) ขึ้นไป โดยแต่ละ โดเมน (Domain) จะมีการเชื่อมโยงกันผ่านทาง Trust Relationship แบบสองทาง (2 way trust)
Class
Class คือตัวแบ่งประเภทของ Object
Object
Object ชื่อของทรัพยากรต่างๆ ที่ใน Active Directory เช่น User, Computer, Printer, Shared Folder เป็นต้น
Attributes
Attributes เป็นค่าที่ใช้บอกคุณลักษณะของ Object เช่น password และ username เป็น attribute ของ object user โดย Object ที่อยู่ใน Class เดียวกันจะมี attribute เหมือนกัน
Schema
Schema เป็นข้อกำหนดต่างๆ ที่กำหนดว่า object แต่ละประเภทจะมี attribute อะไรบ้าง เช่น object ประเภท user มี attribute คือ password, email เป็นต้น
Containers
Containers คล้ายกับโฟลเดอร์ (Folder) โดยจะใช้เก็บ containers และ objects ต่างๆ ไว้ภายใน โดย container ใน Active Directory จะมีอยู่ 3 ประเภท คือ 1. Domains, 2.Sites, 3. Organizational Units (OU)
Site
Site คือ เครือข่ายย่อย ที่การเชื่อมต่อมีความน่าเชื่อถือสูง มีความเร็วสูงและเชื่อมต่อถึงกันตลอดเวลา
Organizational Units (OU)
Organizational Units (OU) เป็น container ที่สามารถใช้เก็บ Object ต่างๆ ของโดเมน (Domain) ที่ตัวมันอยู่ เช่น Computer, User, Printer หรือ OU ย่อยก็ได้ แต่ไม่สามารถใส่ object จาก domain อื่นได้
Domain User Computer and Group
User Account
User Account คือ object ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ของ User คือ user name, password, member ซึ่งถ้าเป็น Domain User Account นั้นจะเก็บและจัดการโดย Active Directory โดยจะเก็บอยู่ในฐานข้อมูลของโดเมนในไฟล์ชื่อ NTDS.DIT ซึ่งไฟล์นี้จะถูกจัดเก็บอยู่ในโดเมนคอนโทรลเลอร์ทุกตัวของโดเมน
สำหรับ Local User Account เช่น User Account ของ Member Server หรือ Client Computer แต่ละตัวนั้น ก็จะเก็บและจัดการแบบ Local โดย Member Server หรือ Client Computer ที่ User Account นั้นอยู่ในระบบ โดยจะเก็บในเครื่องใครเครื่องมันอยู่ในฐานข้อมูลของระบบวินโดวส์ในไฟล์ชื่อ SAM (Security Account Manager) ซึ่งไฟล์นี้จะถูกจัดเก็บอยู่ในโฟลเดอร์ %System root%\Windows\System30\config\
การจัดการ User Account นั้น ถ้าเป็น Domain User Account จะใช้เครื่องมือที่ชื่อ Active Directory Users and Computers แต่ถ้าเป็น Local User Account จะใช้เครื่องมือที่ชื่อ Computers Management
Computer Account
Computer Account คือ object ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสมาชิกของโดเมน โดยหลังจากทำการเพิ่ม (Join) เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าเป็นสมาชิกของโดเมน (Domain) แล้ว คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องก็จะได้รับ Account เพื่อใช้ในการระบุตัวตนของเครื่องนั้นๆ โดยที่ Account ที่ได้นั้นจะเป็นชื่อเดียวกันกับชื่อเครื่อง (Computer name) และต้องไม่ซ้ำกับเครื่องอื่น โดย Computer Account จะเก็บและจัดการโดย Active Directory แบบเดียวกันกับ User Account
คุณสมบัติต่างๆ ของ Computer accounts จะมีลักษณะเหมือนกันกับ User account คือ สามารถ add, disable, reset และ delete ได้โดยใช้เครื่องมือที่ชื่อ Active Directory Users and Computers
Group
Group คือ Object ที่สามารถมีสมาชิกเป็น ยูสเซอร์ (Users) เครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) หรือกลุ่ม (Groups) อื่นๆ โดย Group นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การการกำหนดสิทธิ์ (Right) ให้แก่ยูสเซอร์และ การรับ-ส่ง email ทำได้สะดวกขึ้น โดยในสภาพแวดล้อมแบบ Domain นั้น จะ Group อยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ Distribution Group และ Security Group
Group type มีอยู่ 2 ประเภท ด้วยกันคือ
- Distribution Group เป็นกลุ่ม (Group) ที่ใช้ได้เฉพาะกับ email application เพื่อใช้สำหรับการรับ-ส่ง email เท่านั้น
- Security Group เป็นกลุ่ม (Group) ที่ใช้สำหรับการกำหนดสิทธิ์ (Right) ในการกระทำต่างให้กับกลุ่ม (Group) และใช้สำหรับการกำหนด Permission ในการใช้งาน Shared Resources ต่างๆ
Tips:
ประเภทของกรุ๊ป หรือ Group type นั้น สามารถทำการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าหากว่า domain functional level เป็นแบบ Windows 2000 native หรือสูงกว่า
Group Scope
Group Scope คือ ขอบเขตของกลุ่ม ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ ด้วยกันคือ Universal Group, Global Group และ Domain local Group โดยค่าดีฟอลท์ (Default) สำหรับการสร้าง New Group ขึ้นมานั้น จะกำหนดให้เป็นกลุ่มแบบ Security Group - Global Scope โดยที่ Group Scope นั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าหากว่า domain functional level เป็นแบบ Windows 2000 native หรือสูงกว่า
คุณลักษณะของ Group Scope
- สมาชิกของกลุ่ม Universal Group นั้น สามารถเป็น กลุ่ม (Group) อื่นๆ และ account จากโดเมน (Domain) ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนทรี (Domain Tree) หรือ ฟอเรสต์ (Forest) สามารถใช้ Universal Group ในการกำหนด Permission ในโดเมน (Domain) ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนทรี (Domain Tree) หรือฟอเรสต์ (Forest)
- สมาชิกกลุ่ม Global Group สามารถเป็นกลุ่ม (Group) อื่นๆ และ account เฉพาะจากโดเมน (Domain) ที่ Global Group นั้นอยู่ สามารถใช้ Global Group ในการกำหนด Permission ในโดเมน (Domain) ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนทรี (Domain Tree) หรือ ฟอเรสต์ (Forest)
- สมาชิกกลุ่ม Domain local Group สามารถเป็นกลุ่ม (Group) อื่นๆ และ account จาก Windows Server 2003, Windows 2000 สามารถใช้ Domain local Group ในการกำหนด Permission เฉพาะในโดเมน (Domain) เท่านั้น
ข้อกำหนดในการเปลี่ยน Group Scope
ในการเปลี่ยนแปลง Group Scope นั้น มีข้อกำหนดดังต่อไปนี้
- Global to universal จะทำได้ถ้ากลุ่ม (Group) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นไม่ได้เป็นสมาชิกของ global scope group อื่นๆ
- Domain local to universal จะทำได้ถ้ากลุ่ม (Group) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นไม่มี domain local group อื่นเป็นสมาชิก
- Universal to global จะทำได้ถ้ากลุ่ม (Group) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นไม่มี universal group อื่นเป็นสมาชิก
- Universal to domain local ทำการเปลี่ยนได้โดยไม่มีข้อจำกัด
หมายเหตุ:
สำหรับ Stand-alone server หรือ Client computer นั้นจะ มีเฉพาะ Local Group เท่านั้น และสามารถใช้กำหนดPermission ให้กับกลุ่มได้เฉพาะบนเครื่องๆ นั้นเท่านั้น
การรีพลิเคต (Replication)
การรีพลิเคต หรือ Replication คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนและอัพเดทฐานข้อมูลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดเมนคอนโทรลเลอร์ (Domain Controller) ของโดเมน เพื่อให้ฐานข้อมูลบนโดเมนคอนโทรลเลอร์ทุกตัวเหมือนกันและเป็นปัจจุบัน (Up to date) โดยค่าดีฟอลท์นั้น จะมีการรีพลิเคต xx นาที และสามารถทำการรีพลิเคตแบบแมนนวลได้โดยการเปิด xx
โหมดการทำงานของ Active Directory
ในระบบโดเมน (Domain) ของ Active Directory นั้น จะมีโหมดหรือข้อกำหนดในการทำงาน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่เป็น โดเมนคอนโทรลเลอร์ (DC), เซิร์ฟเวอร์สมาชิก (Member Server) และ ไคลเอนต์คอมพิวเตอร์ (Client Computer)
โหมดการทำงานของ Active Directory ใน Windows 2000 Server
ในระบบ Active Directory ของ Windows 2000 Server นั้นจะมีโหมดการทำงานอยู่ 2 โหมด คือ
1.Mixed Mode เป็น Active Directory Domain ที่สามารถสื่อสารกับ BCD ของ Windows NT4.0 ได้ ใช้ในกรณีต้องการ Upgrade ระบบ Windows NT4.0 และสามารถรองรับลูกข่ายที่เป็น Windows 95/98
2.Native Mode เป็น Active Directory Domain ที่สามารถสื่อสารได้เฉพาะ Windows 2000 Sever เท่านั้น โดยมีข้อดีคือ มีระบบความปลอดภัยสูงขึ้น สามารถทำกลุ่มซ้อนกลุ่มได้ (Group Nesting)
การทำงานของ Active Directory ใน Windows Server 2003
สำหรับในระบบ Active Directory ของ Windows Server 2003 นั้นโหมดการทำงานจะมี 2 ประเภท คือ Domain Functionality และ Forest Functionality
Domain Functionality
Domain Functionality เป็นโหมดการทำงานที่มีผลครอบคลุมเฉพาะภายใน Domain นั้นๆ ซึ่งค่า Domain Functionality นั้นจะเป็นตัวกำหนดว่าในโดเมนนั้นสามารถมีระบบปฏิบัติการใดทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ (DC) ได้บ้าง โดยค่าดีฟอลท์ของ Domain Functionality จะเป็นแบบ Windows 2000 Mixed, โดยที่ Domain Functionality จะมีโหมดการทำงานอยู่ 4 โหมด ดังนี้
1. Windows 2000 Mixed - DC = WindowsNT4.0, Windows2000, Windows Server 2003
2. Windows 2000 Native - DC = Windows2000, Windows Server 2003
3. Windows Server 2003 Interim - DC = WindowsNT4.0, Windows Server 2003
4. Windows Server 2003 - DC = Windows Server 2003
Forest Functionality
Forest Functionality เป็นโหมดการทำงานที่มีผลครอบคลุมทุก Domain ที่อยู่ภายใน Forest นั้นๆ ซึ่ง Forest Functionality นั้นจะเป็นตัวกำหนดว่าในฟอเรสต์นั้นสามารถมีระบบปฏิบัติการใดทำหน้าที่เป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ (DC) ได้บ้าง โดยค่าดีฟอลท์ของ Forest Functionality เป็น Windows 2000, โดยที่ Forest Functionality จะมีโหมดการทำงานอยู่ 3 โหมด ดังนี้
1. Windows 2000 (Default) - DC = WindowsNT4.0, Windows2000, Windows Server 2003
2. Windows Server 2003 Interim - DC = WindowsNT4.0, Windows Server 2003
3. Windows Server 2003 - DC = Windows Server 2003
Keywords: Windows Server 2003 Active Directory AD
© 2008 All Rights Reserved.
How To Install VMware Server
การติดตั้ง VMware Server
VMware Server เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับการใช้งานระบบ Virtualization โดยสามารถรองรับการรันเวอร์ชวลแมชชีน (Virtual Machine) ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows หรือ Linux และที่สำคัญ VMWare Server เป็นฟรีแวร์ซึ่งสามารถใช้งานโดยไม่มีค่าไลเซนส์
ดาวน์โหลด VMware Server
สามารถทำการดาวน์โหลด VMware Server ได้ฟรีที่เว็บไซต์ของ VMware (ดาวน์โหลด VMware Server) ซึ่งเวอร์ชันปัจจุบันเวอร์ชัน 1.0.5 Build: 80187 หลังจากดาวน์โหลดแล้วให้ทำการลงทะเบียนที่เว็บไซต์ VMware Server - Registration เพื่อรับ serial number โดยในการดาวน์โหลดนั้น มีให้เลือกว่าจะใช้เวอร์ชันสำหรับ Windows หรือ Linux
ติดตั้ง VMware Server
หลังจากทำการดาวน์โหลด VMware Server และลงทะเบียนรับ serial number เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปให้ทำการติดตั้ง ตามขั้นตอนดังนี้
1. ในโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ติดตั้งให้ทำการดับเบิลคลิก VMware-server-installer-1.0.x.xxxxx.exe
2. ในหน้า Welcome to Installation Wizard for VMware Server ให้คลิก Next
Welcome to Installation Wizard for VMware Server
3. ในหน้า License Agreement ให้คลิก I accept the terms in the License Agreement เสร็จแล้วคลิก Next
License Agreement
4. ในหน้า Setup Type ให้เลือกการติดตั้งแบบ Complete เสร็จแล้วคลิก Next
Setup Type
5. ถ้าหากทำการติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ Windows XP โปรแกรมจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ข้อความแจ้งเตือนปัญหาเรื่อง Management Interface ให้คลิก OK
Management Interface Issue
6. ในหน้า Destination Folder ให้คลิก Next ในกรณที่ต้องการติดตั้งตามค่าดีฟอลท์ แต่หากต้องการเปลี่ยนโฟลเดอร์ที่ต้องการติดตั้งให้คลิก Change แล้วเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการติดตั้ง คลิก Open เสร็จแล้วคลิก Next
Destination Folder
7. ในหน้า Configure Product ให้คลิก Next (ใช้ค่าดีฟอลท์)
Configure Product
8. ในหน้า Ready to Install the VMware Server Components ให้คลิก Install แล้วรอจนการติดตั้งแล้วเสร็จ
Ready to Install the VMware Server Components
9. ในขั้นตอนนี้ VMware จะทำการคอนฟิก IIS สำหรับ VMware Management Interface ในกรณีที่มีปัญหา โปรแกรมจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์แจ้งรายละเอียดความผิดพลาดให้คลิก OK ไปก่อน แล้วจึงไปแก้ปัญหาใน IIS Management Tool
VMware Management Interface failed to start
10. ในหน้า Customer Information ให้ใส่รายละเอียดของ User Name, Organization พร้อมทั้ง Serial number เสร็จแล้วคลิก Enter
Customer Information
11. ในหน้า Installation Wizard Completed คลิก Finish
Installation Wizard Completed
แหล่งอ้างอิง
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.
VMware Server เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับการใช้งานระบบ Virtualization โดยสามารถรองรับการรันเวอร์ชวลแมชชีน (Virtual Machine) ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows หรือ Linux และที่สำคัญ VMWare Server เป็นฟรีแวร์ซึ่งสามารถใช้งานโดยไม่มีค่าไลเซนส์
ดาวน์โหลด VMware Server
สามารถทำการดาวน์โหลด VMware Server ได้ฟรีที่เว็บไซต์ของ VMware (ดาวน์โหลด VMware Server) ซึ่งเวอร์ชันปัจจุบันเวอร์ชัน 1.0.5 Build: 80187 หลังจากดาวน์โหลดแล้วให้ทำการลงทะเบียนที่เว็บไซต์ VMware Server - Registration เพื่อรับ serial number โดยในการดาวน์โหลดนั้น มีให้เลือกว่าจะใช้เวอร์ชันสำหรับ Windows หรือ Linux
ติดตั้ง VMware Server
หลังจากทำการดาวน์โหลด VMware Server และลงทะเบียนรับ serial number เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปให้ทำการติดตั้ง ตามขั้นตอนดังนี้
1. ในโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ติดตั้งให้ทำการดับเบิลคลิก VMware-server-installer-1.0.x.xxxxx.exe
2. ในหน้า Welcome to Installation Wizard for VMware Server ให้คลิก Next
Welcome to Installation Wizard for VMware Server
3. ในหน้า License Agreement ให้คลิก I accept the terms in the License Agreement เสร็จแล้วคลิก Next
License Agreement
4. ในหน้า Setup Type ให้เลือกการติดตั้งแบบ Complete เสร็จแล้วคลิก Next
Setup Type
5. ถ้าหากทำการติดตั้งบนระบบปฏิบัติการ Windows XP โปรแกรมจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ข้อความแจ้งเตือนปัญหาเรื่อง Management Interface ให้คลิก OK
Management Interface Issue
6. ในหน้า Destination Folder ให้คลิก Next ในกรณที่ต้องการติดตั้งตามค่าดีฟอลท์ แต่หากต้องการเปลี่ยนโฟลเดอร์ที่ต้องการติดตั้งให้คลิก Change แล้วเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการติดตั้ง คลิก Open เสร็จแล้วคลิก Next
Destination Folder
7. ในหน้า Configure Product ให้คลิก Next (ใช้ค่าดีฟอลท์)
Configure Product
8. ในหน้า Ready to Install the VMware Server Components ให้คลิก Install แล้วรอจนการติดตั้งแล้วเสร็จ
Ready to Install the VMware Server Components
9. ในขั้นตอนนี้ VMware จะทำการคอนฟิก IIS สำหรับ VMware Management Interface ในกรณีที่มีปัญหา โปรแกรมจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์แจ้งรายละเอียดความผิดพลาดให้คลิก OK ไปก่อน แล้วจึงไปแก้ปัญหาใน IIS Management Tool
VMware Management Interface failed to start
10. ในหน้า Customer Information ให้ใส่รายละเอียดของ User Name, Organization พร้อมทั้ง Serial number เสร็จแล้วคลิก Enter
Customer Information
11. ในหน้า Installation Wizard Completed คลิก Finish
Installation Wizard Completed
แหล่งอ้างอิง
© 2008 Thai Windows Administrator, All Rights Reserved.